84.108.142.143 - การสืบค้น IP: การสืบค้นที่อยู่ IP ฟรี, การสืบค้นรหัสไปรษณีย์, การสืบค้นตำแหน่ง IP, IP ASN, IP สาธารณะ
ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
z
เมือง
maghar
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Jerusalem
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
ITC NG ltd
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
IP2Location
84.108.142.143ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
yerushalayim
เมือง
jerusalem
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Jerusalem
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
ภาษา
User-Agent
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
เยรูซาเลม
ระยะทาง: ประมาณ 941 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.78333333,35.21666667
เยรูซาเลม (อังกฤษ: Jerusalem), เยรูชาลัยม์ (ฮีบรู: יְרוּשָׁלַיִם ) หรือ อัลกุดส์ (อาหรับ: القُدس) เป็นเมืองในตะวันออกกลาง ตั้งอยู่บนที่ราบของภูเขายูดาห์ ระหว่างทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับทะเลเดดซี โดยชาวคานาอันซึ่งเป็นชาวอาหรับโบราณที่อยู่ในกลุ่มชาติพันธ์หลักของชาวเซมิติก (วงศ์วานของเชม) ได้อพยพออกจากใจกลางคาบสมุทรอาหรับเข้ามาตั้งถิ่นฐานและสร้างชุมชนในบริเวณที่ปัจจุบันเป็นเมืองเก่าของกรุงเยรูซาเลมตั้งแต่ราวสี่พันปีก่อนคริสตกาล เยรูซาเลมได้กลายเป็นปราการแห่งความเชื่อในพระเป็นเจ้าแต่เพียงองค์เดียว นั่นคือพระเป็นเจ้าของอาดัมและของอับราฮัม ผู้เป็นปฐมศาสดาและปฐมบรรพบุรุษของชาวอาหรับและของชาวยิว ในปัจจุบัน ประเทศอิสราเอลและรัฐปาเลสไตน์ต่างอ้างสิทธิเหนือเยรูซาเลมว่าเป็นเมืองหลวงของตน แต่การกล่าวอ้างของทั้งสองฝ่ายไม่ได้รับการยอมรับจากนานาชาติ เยรูซาเลมถือเป็นหนึ่งในเมืองที่เก่าแก่ที่สุดในโลก โดยได้รับการกล่าวถึงในชื่อ "อูรูซาลิมา" ในแผ่นศิลาจารึกของเมโสโปเตเมีย ซึ่งมีความหมายว่า "นครแห่งชาลิม" อันเป็นนามของพระเจ้าในแผ่นดินคานาอันเมื่อราว 2,400 ปีก่อนคริสตกาล และเมื่อมาถึงยุคของวงศ์วานอิสราเอล ที่มาทีหลังได้มีการก่อสร้างขยายเมืองเยรูซาเลมอย่างจริงจังขึ้นในศตวรรษที่ 9 ก่อนคริสตกาล (ยุคเหล็กช่วงปลาย) และในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาล เยรูซาเลมก็ได้เป็นศูนย์กลางการปกครองและทางศาสนาของอาณาจักรยูดาห์ ตลอดประวัติศาสตร์อันยาวนานของเยรูซาเลม นครแห่งนี้ได้ถูกทำลายไปอย่างน้อย 2 ครั้ง, ถูกปิดล้อม 23 ครั้ง, ถูกโจมตี 52 ครั้ง, ถูกยึดและเอาคืน 44 ครั้ง มีส่วนหนึ่งของเยรูซาเลมที่เรียกว่า "เมืองดาวิด" ปรากฏการตั้งถิ่นฐานตั้งแต่สี่พันปีก่อนคริสตกาลจากการเข้ามาตั้งถิ่นฐานของชาวคานาอันที่เป็นชาวอาหรับโบราณในกลุ่มชาติพันธ์เซมิติก กำแพงเมืองเยรูซาเลมซึ่งยังคงตั้งตะหง่านจนถึงปัจจุบันสร้างขึ้นในปี 1538 ในรัชกาลสุลัยมานผู้เกรียงไกร พื้นที่ภายในกำแพงเรียกว่าย่านเมืองเก่า ซึ่งแบ่งออกเป็นสี่เขตด้วยกันได้แก่ เขตอาร์มีเนีย, เขตยิว, เขตคริสเตียน และเขตมุสลิม ย่านเมืองเก่านี้ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโกในปีค.ศ. 1981 และยังเป็นหนึ่งในมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย เยรูซาเลมได้รับขนานนามว่าเป็น "นครศักดิ์สิทธิ์" ของศาสนาทั้งสามในกลุ่มศาสนาอับราฮัมอันได้แก่ ศาสนายูดาห์, ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม ซึ่งในคัมภีร์ไบเบิลระบุว่า เมื่อกษัตริย์ดาวิดทรงพิชิตเยรูซาเลมมาจากพวกเยบุส ก็ทรงสถาปนาเยรูซาเลมเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรอิสราเอล-ยูดาห์ ต่อมา กษัตริย์ซาโลมอน โอรสของกษัตริย์ดาวิด ทรงสร้างพระวิหารแรกขึ้นที่เมืองนี้ เหตุการณ์อันเกิดขึ้นในช่วงหนึ่งพันปีก่อนคริสตกาลนี้ได้ถือเป็นศูนย์รวมเชิงสัญลักษณ์ทั้งมวลของชาวยิว ความศักดิ์สิทธิ์ของเยรูซาเลมในศาสนาคริสต์มีทั้งที่ปรากฏในพันธสัญญาเดิมฉบับแปลเป็นกรีก (หนังสือ Septuagint) ตลอดส่วนที่ถูกกล่าวถึงในพันธสัญญาใหม่ตอนพระเยซูถูกตรึงกางเขน ในศาสนาอิสลามนิกายซุนนีได้ถือว่าเยรูซาเลมเป็นเมืองศักดิ์สิทธิ์ที่สุดเป็นลำดับสามรองจากนครมักกะฮ์และอัลมะดีนะฮ์ ในปีค.ศ.
อนุสรณ์อับซาโลม
ระยะทาง: ประมาณ 1322 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.77695833,35.23895833
อนุสรณ์อับซาโลม (ฮีบรู: יד אבשלום, อังกฤษ: Tomb of Absalom หรือ Absalom's Pillar) คืออนุสรณ์โบราณที่สร้างด้วยหินที่มีหลังคาเป็นกรวยแหลม อนุสรณ์อับซาโลมตั้งอยู่ในหุบเขาคิดรอนในเยรูซาเลมในอิสราเอล แม้ว่าเดิมจะกล่าวกันว่าเป็นอนุสรณ์ของอับซาโลมพระราชโอรสผู้ทรงเป็นปฏิปักษ์ต่อกษัตริย์ดาวิด (ราว 1000 ปีก่อนคริสต์ศักราช) แต่นักวิชาการเมื่อไม่นานมานี้ค้านว่าเป็นสิ่งที่สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 1
เนินพระวิหาร
ระยะทาง: ประมาณ 1010 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.77797222,35.23580556
เนินพระวิหาร (ฮีบรู: הַר הַבַּיִת; อังกฤษ: Temple Mount) หรือที่ในภาษาอาหรับเรียกว่า อัลฮะเราะมุชชะรีฟ (อาหรับ: الحرم الشريف แปลว่า "อริยปูชนียสถาน") เป็นเนินเขาในเขตเมืองเก่าของเยรูซาเลมอันเป็นที่ตั้งของสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อายุกว่าพันปีของสามศาสนาคือ ศาสนายูดาห์, ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม เนินพระวิหารตั้งอยู่ที่ระดับความสูง 740 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล สิ่งก่อสร้างในสมัยราชวงศ์อุมัยยะฮ์บนเนินเขาแห่งนี้ได้แก่ มัสยิดอัลอักศอ, โดมแห่งศิลา ตลอดจนหอสูงทั้งสี่ มีประตูจำนวนสิบเอ็ดประตูเพื่อเข้าไปภายในอาณาเขตแห่งนี้ โดยสิบประตูสงวนไว้สำหรับชาวมุสลิม และอีกหนึ่งประตูสำหรับผู้มิใช่มุสลิม คัมภีร์ไบเบิลระบุว่า วิหารของพวกยิวตั้งอยู่บนเนินพระวิหาร และพงศาวดารของยิวก็ได้ระบุว่าพระวิหารที่หนึ่งถูกสร้างขึ้นในสมัยของกษัตริย์ซาโลมอนเมื่อ 957 ปีก่อนคริสตกาล และถูกทำลายลงโดยบาบิโลเนียเมื่อ 586 ปีก่อนคริสตกาล พระวิหารที่สองถูกสร้างขึ้นในสมัยของเศรุบบาเบลเมื่อ 516 ปีก่อนคริสตกาล และถูกพวกโรมันทำลายลงในปี ค.ศ. 70 ตามคติของพวกยิวแล้ว พระวิหารที่สามซึ่งจะเป็นหลังสุดท้าย จะถูกสร้างขึ้นจากซากของพระวิหารที่สองบนเนินเขาแห่งนี้แต่ก็ยังไม่ได้สร้างจนถึงปัจจุบัน เนินเขาแห่งนี้ถือเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดของศาสนายูดาห์ แม้ว่าในศาสนาอิสลามนิกายซุนนีจะถือว่าเนินเขาแห่งนี้ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดเป็นลำดับสาม โดยเชื่อว่าเป็นสถานที่ที่มุฮัมมัดถูกรับขึ้นสวรรค์ไปพบอัลลอฮ์ ปัจจุบัน เนินเขาแห่งนี้ยังคงเป็นที่แก่งแย่งกันระหว่างศาสนายูดาห์กับอิสลาม ฝ่ายอิสราเอลได้เข้าควบคุมเนินเขาแห่งนี้ตั้งแต่ปี ค.ศ.
มัสยิดอัลอักศอ
ระยะทาง: ประมาณ 1054 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.77617,35.23583
มัสยิดอัลอักศอ (อาหรับ: المسجد الاقصى) เรียกอย่างถูกต้องว่า ญามิอุลอักศอ (อาหรับ: جامع الأقصى) มีอีกชื่อว่า มัสยิดกิบลี หรือ มุศ็อลลากิบลี (อาหรับ: المصلى القبلي, อักษรโรมัน: al-muṣallā al-qiblī, แปลตรงตัว 'หอละหมาดกิบลัต (ใต้)') เป็นมัสยิดรวมหรือหอละหมาดในย่านเมืองเก่าของเยรูซาเลม บางข้อมูลให้ชื่ออาคารนี้ว่า มัสยิดอัลอักศอ แต่ชื่อนี้เป็นที่โต้แย้ง เนื่องจากสามารถใช้กับพื้นที่ทั้งหมดที่เป็นที่ตั้งของอาคารได้ พื้นที่ที่กว้างกว่ามีอีกชื่อว่า ฮะรอมุชชะรีฟ ประกอบด้วยพื้นที่มัสยิดอัลอักศอและเนินพระวิหาร ในสมัยเคาะลีฟะฮ์ อุมัรแห่งรัฐเคาะลีฟะฮ์รอชิดูน (ค. 634 – 644) หรือเคาะลีฟะฮ์ มุอาวิยะฮ์ที่ 1 แห่งรัฐเคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์ (ค. 661 – 680) มีการสร้างอาคารละหมาดขนาดเล็กบนพื้นที่ใกล้กับที่ตั้งของมัสยิด ส่วนมัสยิดในปัจจุบันที่ตั้งอยู่บนกำแพงตอนใต้ของพื้นที่นั้น สร้างขึ้นโดยอับดุลมะลิก เคาะลีฟะฮ์อุมัยยะฮ์องค์ที่ 5 (ค. 685 – 705) หรืออัลวะลีดที่ 1 (ค. 705 – 715) ผู้สืบทอดของพระองค์ (หรือทั้งสองพระองค์) ในแนวเดียวกันกับโดมแห่งศิลา หลังมัสยิดถูกทำลายจากแผ่นดินไหวใน ค.ศ. 746 จึงมีการสร้างใหม่ใน ค.ศ. 758 โดย อัลมันศูร เคาะลีฟะฮ์แห่งรัฐเคาะลีฟะฮ์อับบาซียะฮ์ จากนั้นจึงขยายเพิ่มเติมใน ค.ศ.
กำแพงประจิม
ระยะทาง: ประมาณ 917 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.7767,35.2345
กำแพงประจิม (อังกฤษ: Western Wall) หรือ กำแพงโอดครวญ (อังกฤษ: Wailing Wall) หรือ กำแพงอัล-บุร็อก (อาหรับ: حائط البراق) เป็นกำแพงโบราณในเขตเมืองเก่าเยรูซาเลม สร้างขึ้นจากหินปูนเมื่อครั้งมีการขยายพระวิหารหลังที่สองของพวกยิวโดยพระเจ้าเฮโรดมหาราชในศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสตกาล กำแพงแห่งนี้ตั้งอยู่อาณาบริเวณขนาดใหญ่รูปสี่เหลี่ยมที่เรียกว่าเนินพระวิหาร ซึ่งสำหรับชาวมุสลิมแล้ว เนินแห่งนี้เป็นสถานที่ที่มุฮัมหมัดถูกพระอัลลอห์รับขึ้นไปบนสวรรค์ ชาวยิวจะเรียกกำแพงนี้ว่ากำแพงประจิม เนื่องตั้งอยู่ทางตะวันตกของเนินพระวิหาร ส่วนชาวคริสต์จะเรียกกำแพงนี้ว่ากำแพงโอดครวญ เพื่อสะท้อนเหตุการณ์ที่ชาวยิวต่างพากันมาร่ำร้องโอดครวญกันที่กำแพงแห่งนี้ในวันที่พวกโรมันเข้ายึดครองเยรูซาเลมในค.ศ. 70 และพระวิหารของชาวยิวถูกทำลาย ชาวมุสลิมได้เกิดการปะทะกับชาวคริสต์ขึ้นในเดือนสิงหาคม ค.ศ.
โบสถ์พระคูหาศักดิ์สิทธิ์
ระยะทาง: ประมาณ 434 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.77833333,35.22972222
โบสถ์พระคูหาศักดิ์สิทธิ์ (อังกฤษ: Church of the Holy Sepulchre; ละติน: Ecclesia Sancti Sepulchri; อาหรับ: كنيسة القيامة, Kanīsat al-Qiyāmah; ฮีบรู: כנסיית הקבר, Knesiyat ha-Kever) หรือที่คริสตชนออร์ทอดอกซ์เรียกว่า โบสถ์การคืนพระชนม์ หรือ โบสถ์แห่งอะนาสตาซิส (กรีก: Ναός της Αναστάσεως Naos tes Anastaseos) เป็นโบสถ์คริสต์ในย่านชุมชนคริสตชนของเมืองเยรูซาเลมเก่า ตัวโบสถ์ถูกสร้างขึ้นบนสถานที่สองแห่งที่คริสตชนถือว่าศักดิ์สิทธิ์ที่สุด คือ สถานที่ทำการตรึงพระเยซูที่กางเขน ซึ่งมีชื่อเรียกว่า กลโกธา (ภาษากรีกในพระคัมภีร์: Γολγοθᾶ) และพระคูหาว่างเปล่าที่พระองค์ถูกฝังและฟื้นคืนพระชนม์
โดมยูซุฟ
ระยะทาง: ประมาณ 975 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.77738889,35.235325
โดมยูซุฟ (อาหรับ: قبة يوسف) เป็นโครงสร้างโดมเดี่ยวบนเนินพระวิหาร ตั้งอยู่ทางใต้ของโดมแห่งศิลา โดมนี้สร้างโดยเศาะลาฮุดดีน (พระนามตอนพระราชสมภพ ยูซุฟ) ในคริสต์ศตวรรษที่ 12 และได้รับการบูรณะหลายครั้ง โดยมีจารึกในคริสต์ศตวรรษที่ 12 และ 17: อันที่สลักใน ค.ศ.
พระวิหารของซาโลมอน
ระยะทาง: ประมาณ 968 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.778013,35.235367
พระวิหารของซาโลมอน (อังกฤษ: Solomon's Temple) หรือ พระวิหารแรก (อังกฤษ: First Temple; ฮีบรู: בֵּית-הַמִּקְדָּשׁ הָרִאשׁוֹן, Bēṯ hamMīqdāš hāRīʾšōn, แปลว่า 'พระนิเวศน์ศักดิ์สิทธิ์แห่งแรก') เป็นพระวิหารในเยรูซาเล็มในคัมภีร์ไบเบิลซึ่งเชื่อว่าคงอยู่ในช่วงระหว่างศตวรรษที่ 10 ถึง 6 ก่อนคริสตกาล คำบรรยายส่วนใหญ่เกี่ยวกับพระวิหารอิงตามเรื่องเล่าในคัมภีร์ฮีบรู ซึ่งโปรดให้สร้างขึ้นโดยกษัตริย์ซาโลมอน ก่อนจะถูกทำลายระหว่างการล้อมเยรูซาเล็มโดยพระเจ้าเนบูคัดเนสซาร์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่เมื่อ 587 ปีก่อนคริสตกาล แม้ว่าไม่เคยค้นพบซากของพระวิหารเลย แต่นักวิชาการสมัยใหม่เห็นพ้องกันว่าพระวิหารแรกเคยมีอยู่จริงบนเนินพระวิหารในเยรูซาเล็มในช่วงเวลาที่ถูกปิดล้อมโดยชาวบาบิโลน แม้ว่ายังมีข้อถกเถียงเกี่ยวกับที่วันที่สร้างและตัวตนของผู้สร้างก็ตาม
ศิโยน
ระยะทาง: ประมาณ 899 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.77166667,35.22916667
ศิโยน (อังกฤษ: Zion; ฮีบรู: צִיּוֹן Ṣīyyōn, LXX: Σιών, ยังมีถอดอักษรได้อีกหลากหลายแบบ ได้แก่ Sion, Tzion, Tsion, Tsiyyon) เป็นชื่อสถานที่ในคัมภีร์ฮีบรู มักใช้เป็นคำไวพจน์ของเยรูซาเล็ม หรือแผ่นดินอิสราเอลทั้งหมด
กลโกธา
ระยะทาง: ประมาณ 404 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.77861111,35.22944444
กลโกธา (กรีก: Γολγοθᾶ, อักษรโรมัน: Golgothâ) หรือ แคลวารี (อังกฤษ: Calvary; ละติน: Calvariae หรือ Calvariae locus) เป็นสถานที่ที่อยู่นอกกำแพงของเยรูซาเล็ม ที่ซึ่งตามพระวรสารในสารบบทั้งสี่เล่มของศาสนาคริสต์ระบุว่าเป็นสถานที่ที่พระเยซูทรงถูกตรึงกางเขน ตั้งแต่ช่วงต้นยุคกลางเป็นอย่างน้อย กลโกธาเป็นจุดหมายสำหรับการจาริกแสวงบุญ ตำแหน่งที่แน่นอนของกลโกธาตามธรรมเนียมมีความเกี่ยวข้องกับสถานที่ซึ่งปัจจุบันถูกปิดล้อมอยู่ภายในหนึ่งในโบสถ์น้อยทางใต้ของโบสถ์พระคูหาศักดิ์สิทธิ์ โดยกล่าวกันว่าสถานที่นี้ได้รับการยอมรับโดยจักรพรรดินีเฮเลนาแห่งจักรวรรดิโรมันผู้เป็นพระมารดาของจักรพรรดิคอนสแตนตินมหาราชระหว่างที่พระองค์เสด็จเยือนแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์ในปี ค.ศ.
เกทเสมนี
ระยะทาง: ประมาณ 1420 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.779402,35.240197
เกทเสมนี (อังกฤษ: Gethsemane, ) เป็นสวนที่เชิงเขาของภูเขามะกอกเทศในเยรูซาเล็มตะวันออก ที่ซึ่งสี่พระวรสารของพันธสัญญาใหม่ระบุว่าเป็นสถานที่ที่พระเยซูทรงประสบความทุกข์ในสวนและทรงถูกจับกุมก่อนที่พระองค์จะทรงถูกตรึงกางเขน สวนเกทเสมนีเป็นสถานที่ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในศาสนาคริสต์ มีสวนต้นมะกอกเล็ก ๆ หลายสวนที่อยู่ใกล้ชิดกันบนที่ดินของโบสถ์ ซึ่งถูกระบุว่าเป็นเกทเสมนีในคัมภีร์ไบเบิล
ภูเขาศิโยน
เนินเขาในอิสราเอล
ระยะทาง: ประมาณ 878 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.77166667,35.22861111
ภูเขาศิโยน (อังกฤษ: Mount Zion; ฮีบรู: הַר צִיּוֹן, Har Ṣīyyōn; อาหรับ: جبل صهيون, Jabal Sahyoun) เป็นเนินเขาในเยรูซาเลม ตั้งอยู่ด้านนอกกำแพงของเมืองเก่าทางด้านใต้ คำว่า "ภูเขาศิโยน" ถูกใช้ครั้งแรกในคัมภีร์ฮีบรูเพื่อหมายถึงนครดาวิด (2 ซามูเอล 5:7, 1 พงศาวดาร 11:5; 1 พงศ์กษัตริย์ 8:1, 2 พงศาวดาร 5:2) และภายหลังใช้หมายถึงเนินพระวิหาร แต่ความหมายได้เปลี่ยนแปลงไป และปัจจุบันใช้เป็นชื่อของเนินเขาทางตะวันตกของเยรูซาเลมโบราณ คำว่าศิโยนยังใช้ในความหมายถึงกว้างขึ้น โดยหมายถึงทั้งแผ่นดินอิสราเอล
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
ท้องฟ้าแจ่มใส
10 องศาเซลเซียส
9 องศาเซลเซียส
6 องศาเซลเซียส
10 องศาเซลเซียส
1017 hPa
42 %
1017 hPa
925 hPa
10000 เมตร
1.86 เมตร/วินาที
1.94 เมตร/วินาที
248 ระดับ