77.92.148.66 - การสืบค้น IP: การสืบค้นที่อยู่ IP ฟรี, การสืบค้นรหัสไปรษณีย์, การสืบค้นตำแหน่ง IP, IP ASN, IP สาธารณะ
ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย:
ASN:
ภาษา:
User-Agent:
Proxy IP:
บัญชีดำ:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
IP2Location
77.92.148.66ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
istanbul
เมือง
istanbul
โซนเวลาท้องถิ่น
Europe/Istanbul
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
ภาษา
User-Agent
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
ฮาเกียโซเฟีย
ระยะทาง: ประมาณ 2635 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 41.00846667,28.98025833
ฮาเกียโซเฟีย (อังกฤษ: Hagia Sophia; กรีกคอยนี: Ἁγία Σοφία, อักษรโรมัน: Hagía Sophía) หรือ อายาโซฟยา (ตุรกี: Ayasofya) แปลว่า "พระปรีชาญาณศักดิ์สิทธิ์" (Holy Wisdom; ละติน: Sancta Sofia) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า มัสยิดใหญ่อายาโซฟยาอันศักดิ์สิทธิ์ (ตุรกี: Ayasofya-i Kebir Camii Şerifi) และในอดีตมีชื่อว่า คริสตจักรฮาเกียโซเฟีย (ตุรกี: Ayasofya Kilisesi; กรีก: Ναός της Αγίας του Θεού Σοφίας, อักษรโรมัน: Naós tis Ayías tou Theoú Sofías; ละติน: Ecclesia Sanctae Sophiae) เป็นศาสนสถานจากปลายสมัยโบราณ ตั้งอยู่ในอิสตันบูล ผู้ออกแบบ คือ อีซีดอร์แห่งไมลิทัส และแอนทิเมียสแห่งทรัลเลส ชาวกรีกทั้งคู่ โดยสร้างใน ค.ศ. 537 เพื่อเป็นอาสนวิหารประจำเขตอัครบิดรคอนสแตนติโนเปิล นับเป็นโบสถ์คริสต์ที่ใหญ่ที่สุดของจักรวรรดิโรมันตะวันออกและศาสนจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ ยกเว้นในสมัยจักรวรรดิละตินช่วง ค.ศ. 1204–1261 ซึ่งศาสนถานนี้กลายเป็นอาสนวิหารคริสตจักรละตินประจำนครแทน ต่อมาใน ค.ศ.
อิสตันบูล
ระยะทาง: ประมาณ 446 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 41.01361111,28.955
อิสตันบูล (ตุรกี: İstanbul; ออกเสียง: [isˈtanbuɫ] ) เดิมชื่อคอนสแตนติโนเปิล เป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศตุรกีและทวีปยุโรป (นับรวมเขตเมืองฝั่งเอเชีย) เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ของประเทศตุรกี อิสตันบูลเป็นเมืองเชื่อมทวีปยูเรเชียโดยตั้งระหว่างช่องแคบบอสพอรัส (ซึ่งแยกยุโรปและเอเชีย) ระหว่างทะเลมาร์มาราและทะเลดำ เมืองอิสตันบูลมีชื่อเสียงทางด้านศูนย์กลางการค้าและประวัติศาสตร์ของฝั่งยุโรป ประมาณหนึ่งในสามของประชากรอาศัยอยู่ทางอานาโตเลียหรือฝั่งทวีปเอเชีย โดยมีประชากรทั้งหมดประมาณ 15 ล้านคน อิสตันบูลเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลกโดยจัดว่าเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสี่ของโลกและเป็นเมืองในยุโรปที่ใหญ่ที่สุด เมืองเป็นศูนย์กลางการปกครองของเทศบาลนครอิสตันบูล อิสตันบูลถือว่าเป็นสะพานเชื่อมระหว่างซีกโลกตะวันออกและตะวันตก ในอดีตเมืองอิสตันบูลก่อตั้งขึ้นภายใต้ชื่อ ไบแซนไทน์ (Βυζάντιον) บนแหลมซาเรย์บูนู ราว 660 ปีก่อนคริสต์ศักราช เมื่อเวลาผ่านไปตัวเมืองค่อย ๆ ขยายขนาดและอิทธิพลเพิ่มขึ้นจนกลายเป็นหนึ่งในเมืองที่สำคัญที่สุดในประวัติศาสตร์ โดยหลังจากการสถาปนาเป็นกรุงคอนสแตนติโนเปิล ใน ค.ศ. 330, ไบแซนไทน์ อยู่ในฐานะเมืองหลวงของจักรวรรดิมาเป็นเวลาเกือบ 16 ศตวรรษ ตั้งแต่จักรวรรดิโรมัน, ไบเซนไทน์ (330-1204) ละติน (1204–1761) จักรวรรดิไบแซนไทน์ภายใต้ราชวงศ์พาลาโอโลกอส (1261–1453) จนมาถึงจักรวรรดิไบแซนไทน์ (1453–1922) โดยเมืองไบแซนไทน์ได้กลายเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่ศาสนาคริสต์ในช่วงเวลานั้น ก่อนที่ชาวออตโตมานจะพิชิตเมืองในปี ค.ศ. 1453 และเปลี่ยนให้กลายเป็นจุดยุทธศาสตร์ของจักรวรรดิออตโตมันและศาสนามุสลิมในที่สุด ตำแหน่งของเมืองถูกปรากฏบนหน้าประวัติศาสตร์ ทั้งบนเส้นทางสายไหม , เส้นทางผ่านของรถไฟไปยังยุโรป ตะวันออกกลาง และเป็นเพียงการเดินทางทะเลทางเดียวที่จะข้ามระหว่างทะเลดำและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ซึ่งทำให้เกิดความหลากหลายทางประชากร หลังจากสงครามประกาศอิสรภาพตุรกี อังการาได้รับเลือกให้เป็นเมืองหลวงของตุรกี เมืองไบแซนไทน์เปลี่ยนได้ชื่อเป็นอิสตันบูลในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามเมืองคงความโดดเด่นด้านการเมืองและศิลปวัฒนธรรม และประชากรในเมืองมีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็นสิบเท่านับจากปี ค.ศ.
คอนสแตนติโนเปิล
เมืองหลวงของจักรวรรดิโรมันตะวันออกหรือไบแซนไทน์ ละติน และออตโตมัน
ระยะทาง: ประมาณ 492 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 41.01388889,28.95555556
คอนสแตนติโนเปิล (อังกฤษ: Constantinople; กรีก: Κωνσταντινούπολις, อักษรโรมัน: Konstantinoúpolis; ละติน: Constantinopolis; ตุรกีออตโตมัน: قسطنطينيه, อักษรโรมัน: Ḳosṭanṭīnīye) เป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิโรมัน ระหว่างปี ค.ศ. 330 ถึง ค.ศ. 395; ของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ระหว่างปี ค.ศ.
การเสียกรุงคอนสแตนติโนเปิล
ระยะทาง: ประมาณ 2307 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 41.0167,28.9769
การเสียกรุงคอนสแตนติโนเปิล (กรีกโบราณ: Ἅλωσις τῆς Κωνσταντινουπόλεως, อักษรโรมัน: Hálōsis tē̂s Kōnstantīnoupóleōs; ตุรกี: İstanbul'un Fethi, แปลตรงตัว 'การพิชิตอิสตันบูล') เป็นการยึดครองเมืองหลวงของจักรวรรดิไบแซนไทน์โดยจักรวรรดิออตโตมัน ซึ่งเริ่มต้นในวันที่ 6 เมษายน แล้วตัวเมืองถูกยึดครองในวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ.
เหตุระเบิดในอิสตันบูล พ.ศ. 2553
ระยะทาง: ประมาณ 3905 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 41.03694,28.98465
เหตุระเบิดในอิสตันบูล พ.ศ. 2553 เป็นเหตุระเบิดพลีชีพซึ่งเกิดขึ้นที่จัตุรัสทักสิมในอิสตันบูล ประเทศตุรกี เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.
มาร์มาไรย์
ระยะทาง: ประมาณ 3990 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 41.01916667,28.99666667
มาร์มาไรย์ (ตุรกี: Marmaray) เป็นโครงการเกี่ยวกับระบบขนส่งทางรางในเมืองอิสตันบูล ประเทศตุรกี ซึ่งประกอบด้วยการก่อสร้างอุโมงค์รถไฟลอดใต้ช่องแคบบอสฟอรัส เชื่อมประเทศตุรกีฝั่งทวีปเอเชียและทวีปยุโรปเข้าด้วยกัน (ประเทศตุรกีตั้งอยู่บนสองทวีป โดยมีช่องแคบบอสฟอรัสเป็นเขตแบ่งทวีป) โครงการนี้ยังรวมถีงการปรับปรุงสภาพรถไฟชานเมืองสายเลียบทะเลมาร์มารา ตั้งแต่สถานี Halkalı ของฝั่งทวีปยุโรป ไปจนถึงสถานี Gebze บนฝั่งทวีปเอเชีย โดยใช้อุโมงค์ดังกล่าวเชื่อมระบบรถไฟทั้งสองฝั่ง รวมไปถึงการจัดซื้อจัดจ้างยานพาหนะที่ใช้วิ่งรับส่งผู้โดยสาร การก่อสร้างเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) ซึ่งตามกำหนดจะเปิดให้บริการในเดือนเมษายน พ.ศ.
บิแซนเทียม
ระยะทาง: ประมาณ 2946 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 41.01527778,28.98472222
บิแซนเทียม (อังกฤษ: Byzantium; กรีกโบราณ: Βυζάντιον) เป็นนครกรีกโบราณตั้งอยู่ ณ ที่ซึ่งภายหลังเป็นคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูลสมัยใหม่) ผู้อยู่ในนิคมกรีกจากเมการาก่อตั้งนครแห่งนี้เมื่อ 657 ปีก่อน ค.ศ. มีการสร้างนครใหม่และเป็นเมืองหลวงใหม่ของจักรวรรดิโรมันในรัชกาลจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 ใน ค.ศ. 330 และภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นคอนสแตนติโนเปิล นครดังกล่าวเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิไบแซนไทน์กระทั่ง ค.ศ.
มัสยิดสุลต่านอาเหม็ด
ระยะทาง: ประมาณ 2464 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 41.0053851,28.9768247
มัสยิดสุลต่านอาเหม็ด หรือ มัสยิดสีฟ้า (อังกฤษ: Sultan Ahmed Mosque;ตุรกี: Sultan Ahmet Camii) เป็นมัสยิดสมัยออตโตมันที่ตั้งอยู่ในอิสตันบูล, ประเทศตุรกี ซึ่งสามารถรับนักท่องเที่ยวได้จำนวนมาก ตัวมัสยิดถูกสร้างระหว่าง ค.ศ.
เขตอัครบิดรสากล
ระยะทาง: ประมาณ 1719 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 41.02916667,28.95166667
เขตอัครบิดรสากล (กรีก: Οικουμενικό Πατριαρχείο; อังกฤษ: Ecumenical Patriarchate) เป็นเขตปกครองของอัครบิดรแห่งคอนสแตนติโนเปิลและเป็นศูนย์กลางคริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ทั่วโลก
จัตุรัสสุลต่านอาเหม็ด
ระยะทาง: ประมาณ 2345 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 41.00638889,28.97583333
จัตุรัสสุลต่านอาเหม็ด (ตุรกี: Sultanahmet Meydanı) หรือ ฮิปโปโดรมคอนสแตนติโนเปิล (กรีก: Ἱππόδρομος τῆς Κωνσταντινουπόλεως, อักษรโรมัน: Hippódromos tēs Kōnstantinoupóleōs; ละติน: Circus Maximus Constantinopolitanus; ตุรกี: Hipodrom) เป็นจัตุรัสที่ตั้งอยู่ในอิสตันบูลในประเทศตุรกี โดยก่อนหน้านั้นเคยเป็นสนามแข่งม้า (Circus) แห่งกรุงคอนสแตนติโนเปิล ซึ่งเป็นศูนย์กลางทั้งการกีฬาและสังคม และยังเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิไบแซนไทน์
เหตุระเบิดในอิสตันบูล พ.ศ. 2565
ระยะทาง: ประมาณ 3557 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 41.035,28.98138889
เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 2022 (2022-11-13) เวลา 16:20 น.
บาซิลิกาซิสเทิร์น
ระยะทาง: ประมาณ 2444 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 41.00805556,28.97777778
บาซิลิกาซิสเทิร์น (อังกฤษ: Basilica Cistern, กรีก: Βασιλική Κινστέρνα, ตุรกี: Yerebatan Sarnıcı หรือ Yerebatan Saray) เป็นโพรงน้ำใต้ดินโบราณที่ใหญ่ที่สุดในนครอิสตันบูล ประเทศตุรกี ตั้งอยู่ห่างไป 150 เมตร (490 ฟุต) ทางใต้ของอายาโซฟยา บนคาบสมุทรซารายบูร์นู บาซิลิกาซิสเทิร์นสร้างขึ้นในศตวรรษที่ 6 ในรัชสมัยของจักรพรรดิบีแซนทีน ยุสตีนยาที่หนึ่ง และมีบันทึกอ้างว่าใช้ทาสกว่า 7,000 คนในการก่อสร้าง ปัจจุบันมีการคงระดับน้ำภายในให้ต่ำสำหรับเปิดให้สาธารณชนสามารถเข้าชมได้
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
เมฆเป็นหย่อม ๆ
4 องศาเซลเซียส
-1 องศาเซลเซียส
4 องศาเซลเซียส
7 องศาเซลเซียส
1022 hPa
81 %
1022 hPa
1015 hPa
10000 เมตร
8.75 เมตร/วินาที
50 ระดับ
75 %