ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
ca
เมือง
sanfrancisco
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
America/Los_Angeles
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
UCSF
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
มูลนิธิวิกิมีเดีย
องค์กรการกุศลสัญชาติอเมริกัน
ระยะทาง: ประมาณ 2804 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 37.7891838,-122.4033522
บริษัทมูลนิธิวิกิมีเดีย (อังกฤษ: Wikimedia Foundation, Inc.; WMF) หรือ วิกิมีเดีย เป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรและองค์กรการกุศลสัญชาติอเมริกัน มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย ส่วนใหญ่เป็นที่รู้จักจากการเข้าร่วมในขบวนการวิกิมีเดีย และเป็นเจ้าของชื่อโดเมนอินเทอร์เน็ตของโครงการส่วนใหญ่ของขบวนการ เช่น วิกิพีเดีย มูลนิธินี้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2546 โดยจิมมี เวลส์ เพื่อให้เป็นหนทางหนึ่งในการหาเงินทุนให้แก่วิกิพีเดียและโครงการพี่น้องด้วยวิธีการที่ไม่แสวงหาผลกำไร ณ พ.ศ. 2558 มูลนิธิมีพนักงานกว่า 280 คน และมีรายได้ประจำปีเกินกว่า 75 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ปัจจุบันนาตาลียา ตึมกิว (Nataliia Tymkiv) เป็นประธานคณะกรรมการบริษัท มารยานา อิสกันดัร (Maryana Iskander) ได้เป็นกรรมการบริหารตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ.
ซานฟรานซิสโก
ระยะทาง: ประมาณ 2621 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 37.78333333,-122.41666667
ซานฟรานซิสโก หรือ แซนฟรันซิสโก (อังกฤษ: San Francisco ในภาษาสเปน แปลว่า นักบุญฟรานซิส) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า นครและเทศมณฑลซานฟรานซิสโก (อังกฤษ: City and County of San Fracisco) เป็นเมืองในรัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา มีประชากร ประมาณ 808,976 คน ซึ่งเป็นเมืองที่มีความหนาแน่นประชากรเป็นอันดับสองของประเทศ เมืองซานฟรานซิสโกตั้งอยู่บริเวณอ่าวซานฟรานซิสโก ชาวยุโรปกลุ่มแรกที่มาตั้งรกรากในซานฟรานซิสโกคือชาวสเปน โดยในปี ค.ศ. 1776 เมืองมีชื่อว่า เซนต์ฟรานซิส (St. Francis) ในภายหลังจากช่วงยุคตื่นทองในปี ค.ศ.
สะพานโกลเดนเกต
สะพานแขวนในซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา
ระยะทาง: ประมาณ 9321 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 37.81972222,-122.47861111
สะพานโกลเดนเกต (อังกฤษ: Golden Gate Bridge) เป็นสะพานแขวนข้ามช่องแคบโกลเดนเกต เชื่อมระหว่างนครซานฟรานซิสโก กับเทศมณฑลมาริน รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงสหรัฐหมายเลข 101 และทางหลวงรัฐแคลิฟอร์เนียหมายเลข 1 นอกจากนี้ยังรองรับการจราจรของจักรยานและคนเดินเท้า และได้รับการกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางจักรยานสหรัฐหมายเลข 95 สะพานนี้ได้รับการยกย่องจากสมาคมวิศวกรโยธาแห่งอเมริกา (ASCE) ให้เป็นหนึ่งในสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคปัจจุบัน และเป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดในระดับสากลของซานฟรานซิสโกและแคลิฟอร์เนีย แนวคิดในการสร้างสะพานเชื่อมระหว่างซานฟรานซิสโกและมารินได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อย ๆ ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 แต่จนกระทั่งต้นศตวรรษที่ 20 ความคิดนี้จึงกลายเป็นจริง โดยมีโจเซฟ สเตราส์ (Joseph Strauss) ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าวิศวกรของโครงการ และลีออน มอยส์เซฟฟ์ (Leon Moisseiff) เออร์วิ่ง มอร์โรว์ (Irving Morrow) และชาลส์ เอลลิส (Charles Ellis) เป็นผู้มีส่วนร่วมสำคัญในการออกแบบ สะพานโกลเดนเกตสร้างขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1933 ในสมัยประธานาธิบดีแฟรงคลิน ดี. โรเซอเวลต์ (Franklin D. Roosevelt) เสร็จสมบูรณ์และเปิดใช้งานในปี ค.ศ.
เกาะอัลคาทราซ
ระยะทาง: ประมาณ 7268 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 37.826667,-122.423333
เกาะอัลคาทราซ (บางครั้งเรียกว่า อัลคาทราซ หรือ เดอะร็อค) เป็นเกาะเล็ก ๆ ที่ตั้งอยู่กลางอ่าวซานฟรานซิสโก ในแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา เกาะนี้เคยเป็นสถานที่ตั้งประภาคาร ป้อมปราการของกองทัพ และยังเป็นคุกทหารจนถึงปี 1963 หลังจากนั้น เกาะอัลคาทราซก็กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยว
นิวรัลลิงก์
ระยะทาง: ประมาณ 1380 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 37.7623,-122.4148
นิวรัลลิงก์ คอร์โปเรชัน เป็นบริษัทด้านเทคโนโลยีประสาทของสหรัฐที่ก่อตั้งโดยอีลอน มัสก์และคนอื่น ๆ โดยพัฒนาส่วนต่อประสานของสมองและเครื่องจักร (BMI) สำนักงานใหญ่ของบริษัทตั้งอยู่ในซานฟรานซิสโก เริ่มต้นในปี พ.ศ. 2559 และได้รับการรายงานสู่สาธารณะครั้งแรกในเดือนมีนาคม พ.ศ.
สะพานข้ามอ่าวซานฟรานซิสโก–โอกแลนด์
กลุ่มสะพานข้ามอ่าวซานฟรานซิสโก สหรัฐอเมริกา
ระยะทาง: ประมาณ 7575 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 37.81805556,-122.34666667
สะพานข้ามอ่าวซานฟรานซิสโก–โอกแลนด์ (อังกฤษ: San Francisco–Oakland Bay Bridge) หรือที่รู้จักกันในชื่อ สะพานอ่าว (Bay Bridge) เป็นกลุ่มสะพานที่ทอดข้ามอ่าวซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงระหว่างรัฐหมายเลข 80 และเป็นเส้นทางตรงระหว่างเมืองซานฟรานซิสโกกับโอกแลนด์ มีรถยนต์วิ่งผ่านประมาณ 260,000 คันต่อวันบนสะพานสองชั้น และเป็นหนึ่งในสะพานที่มีช่วงยาวที่สุดในสหรัฐ แนวคิดการสร้างสะพานเก็บค่าผ่านทางเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยการค้นพบทองคำในแคลิฟอร์เนีย โดย "จักรพรรดิ" โจชัว นอร์ตัน เป็นผู้สนับสนุนอย่างแข็งขัน แต่การก่อสร้างจริงเริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1933 สะพานถูกออกแบบโดยชาลส์ เอช. เพอร์เซลล์ และสร้างโดยบริษัท American Bridge Company สะพานเปิดให้บริการในวันพฤหัสบดีที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ.
อุโมงค์เยอร์บาบเวนา
อุโมงค์ทางหลวงในซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย
ระยะทาง: ประมาณ 5846 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 37.80944444,-122.36555556
อุโมงค์เยอร์บาบเวนา (อังกฤษ: Yerba Buena Tunnel) หรือที่รู้จักกันในชื่อ อุโมงค์เกาะเยอร์บาบเวนา เป็นอุโมงค์ทางหลวงในเมืองซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างสะพานซานฟรานซิสโก–อ่าวโอ๊กแลนด์ที่ผ่านเกาะเยอร์บาบเวนา อุโมงค์แห่งนี้รองรับถนน 10 ช่องจราจรของทางหลวงอินเตอร์สเตตหมายเลข 80 (Interstate 80) บนสองชั้น เชื่อมต่อสองช่วงของสะพานอ่าวได้แก่ สะพานแขวนในช่วงตะวันตกและสะพานแขวนตรึงตัวเองในช่วงตะวันออก เมื่อสะพานอ่าวเปิดใช้งานในปี ค.ศ.
เกาะเยอร์บาบเวนา
ย่านของซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา
ระยะทาง: ประมาณ 5872 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 37.809912,-122.366002
เกาะเยอร์บาบเวนา (อังกฤษ: Yerba Buena Island; สเปน: Isla Yerba Buena) เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในอ่าวซานฟรานซิสโก ภายในเขตนครและเทศมณฑลซานฟรานซิสโก อุโมงค์เยอร์บาบเวนาตัดผ่านใจกลางเกาะแห่งนี้ เชื่อมระหว่างช่วงตะวันตกและตะวันออกของสะพานข้ามอ่าวซานฟรานซิสโก–โอกแลนด์ ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเมืองซานฟรานซิสโกกับโอกแลนด์ รัฐแคลิฟอร์เนีย เกาะเทรเชอร์เชื่อมต่อกับนี้ด้วยถนนยกระดับ จากข้อมูลของสำนักงานสำรวจสำมะโนประชากรสหรัฐ เกาะเยอร์บาบเวนา และเกาะเทรเชอร์ มีพื้นที่รวมกัน 0.901 ตารางไมล์ (2.33 ตารางกิโลเมตร) โดยมีประชากรทั้งหมด 2,500 คน จากการสำรวจสำมะโนประชากรปี 2010 เกาะเยอร์บาบเวนาเคยมีชื่อเรียกอื่นมานานนับทศวรรษ ได้แก่ เกาะนกทะเล (Sea Bird Island), เกาะไม้ (Wood Island) และเกาะแพะ (Goat Island) ชื่อเกาะอาจมาจากชื่อเมืองเยอร์บาบเวนา ซึ่งตั้งชื่อตามพืชชนิดเดียวกันที่พบมากในบริเวณนั้น ชื่อสามัญของพืชชนิดนี้ในภาษาอังกฤษและสเปน คือ Yerba Buena เป็นอีกชื่อหนึ่งของคำว่า hierba buena ในภาษาสเปน (แปลตรงตัวว่า "สมุนไพรที่ดี") ซึ่งโดยทั่วไปมักใช้เรียกพืชในตระกูลมิ้นต์ที่ขึ้นในท้องถิ่น ปัจจุบัน พื้นที่ทางทหารทางตะวันออกเฉียงใต้ของอุโมงค์เยอร์บาบเวนา เป็นของหน่วยยามฝั่งสหรัฐ (USCG) เขต 11 สถานีควบคุมการเดินเรือ (Vessel Traffic Service - VTS) สังกัดหน่วยยามฝั่งสหรัฐ ประจำเขตซานฟรานซิสโก ตั้งอยู่บนยอดเกาะเยอร์บาบเวนา ภายในอาคารเลขที่ 278 ถนนซิกนัล สำนักงานใหญ่กองปฏิบัติการยามฝั่งสหรัฐ ประจำภาคซานฟรานซิสโก ตั้งอยู่ร่วมกับสถานียามฝั่งสหรัฐ ประจำซานฟรานซิสโก บนถนนฮีลลีอเวนิว และถนนเฟรสเนลเวย์ ติดริมน้ำ บริเวณชายฝั่งตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะ หน่วยยามฝั่งทะเล สถานช่วยเหลือการเดินเรือ ซานฟรานซิสโก มีสถานซ่อมแซมทุ่นนำร่อง ตั้งอยู่บนถนนเฟรสเนล ย้านพักของเจ้าหน้าที่ระดับสูงของยามฝั่งสหรัฐ อยู่ที่ Quarters A, B, C, 8 และ 9 บนถนนฮิลเครสต์ บนเนินเขาเหนือฐานยามฝั่ง ในช่วงฤดูร้อนปี 2011 กระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิ / หน่วยยามฝั่งสหรัฐ ได้เปิดใช้งานศูนย์ประสานงานร่วม (Interagency Center - IOC) ภายใต้พระราชบัญญัติท่าเรือปลอดภัย ค.ศ.
ไฮแอท รีเจนซี่ ซานฟรานซิสโก
ระยะทาง: ประมาณ 3367 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 37.79432,-122.39584
ไฮแอท รีเจนซี่ ซานฟรานซิสโก (อังกฤษ: Hyatt Regency San Francisco) เป็นโรงแรมบนถนนมาร์เก็ตและดิเอ็มบาร์แคเดอโร ในย่านการเงินของนครซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐ ส่วนหนึ่งของโครงการเอ็มบาร์แคเดอโรเซ็นเตอร์ ที่พัฒนาโดยแทรมเมล โครว, เดวิด ร็อกกีเฟลเลอร์ และ จอห์น พอร์ตแมน
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
ท้องฟ้าแจ่มใส
9 องศาเซลเซียส
6 องศาเซลเซียส
6 องศาเซลเซียส
10 องศาเซลเซียส
1016 hPa
70 %
1016 hPa
1014 hPa
10000 เมตร
4.63 เมตร/วินาที
300 ระดับ
06:51:39
16:57:37