BrowserScan
หน้าแรก>

58.181.147.16 - การสืบค้น IP: การสืบค้นที่อยู่ IP ฟรี, การสืบค้นรหัสไปรษณีย์, การสืบค้นตำแหน่ง IP, IP ASN, IP สาธารณะ

ประเทศ/ภูมิภาค:

flagsประเทศไทย

รัฐ/จังหวัด:

krung thep maha nakhon

เมือง:

dusit

ละติจูดและลองจิจูด:

13.777500,100.519800

โซนเวลาท้องถิ่น:

รหัสไปรษณีย์:

10300

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย:

ASN:

ภาษา:

*

User-Agent:

undici

Proxy IP:

เลขที่

บัญชีดำ:

เลขที่

ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ

ip-api

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

Luminati

ประเทศ/ภูมิภาค

th country flagTH

รัฐ/จังหวัด

10

เมือง

dusit

โซนเวลาท้องถิ่น

Asia/Bangkok

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

KSC Commercial Internet Co. Ltd.

ละติจูด

13.7863

ลองจิจูด

100.5056

รหัสไปรษณีย์

10300

IPinfo

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

IP2Location

58.181.147.16

ประเทศ/ภูมิภาค

th country flagth

รัฐ/จังหวัด

krung thep maha nakhon

เมือง

dusit

โซนเวลาท้องถิ่น

Asia/Bangkok

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

-

ภาษา

*

User-Agent

undici

ละติจูด

13.777500

ลองจิจูด

100.519800

รหัสไปรษณีย์

10300

db-ip

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

ipdata

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

  • การตรวจจับการรั่วไหลของ WebRTC
    เริ่ม
  • การตรวจจับการรั่วไหลของ DNS
    เริ่ม
  • การทดสอบ HTTP2/SSL/TLS
    เริ่ม

สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้

  • วชิราวุธวิทยาลัย

    วชิราวุธวิทยาลัย

    โรงเรียนประจำชายล้วนในกรุงเทพมหานคร

    ระยะทาง: ประมาณ 249 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.775497,100.518785

    วชิราวุธวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนประจำชายล้วน สถาปนาขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ได้มีพระบรมราชโองการให้รวมโรงเรียนมหาดเล็กหลวง กรุงเทพ และโรงเรียนราชวิทยาลัยเข้าด้วยกัน โดยให้นักเรียนย้ายมาเรียนรวมกันที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพ พร้อมทั้งได้พระราชทานนามโรงเรียนขึ้นใหม่ว่า “วชิราวุธวิทยาลัย” เพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

  • ถนนราชวิถี (กรุงเทพมหานคร)

    ถนนราชวิถี (กรุงเทพมหานคร)

    ระยะทาง: ประมาณ 444 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.77361111,100.51888889

    ถนนราชวิถี (อักษรโรมัน: Thanon Ratchawithi) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากทางแยกสามเหลี่ยมดินแดง (จุดบรรจบกับถนนราชปรารภกับถนนดินแดง) ในพื้นที่แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพญาไทและถนนพหลโยธินที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เข้าสู่แขวงทุ่งพญาไท ตัดกับถนนพระรามที่ 6 (ทางแยกตึกชัย) ตัดกับถนนกำแพงเพชร 5 และทางรถไฟสายเหนือ เข้าสู่ท้องที่แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต ตัดกับถนนสวรรคโลก (ทางแยกอุภัยเจษฎุทิศ) และถนนพระรามที่ 5 (ทางแยกราชวิถี) เข้าสู่ท้องที่แขวงดุสิต จากนั้นตัดกับถนนอู่ทองใน (ทางแยกอู่ทองใน) ถนนนครราชสีมา (ทางแยกการเรือน) และถนนสามเสน (ทางแยกซังฮี้) เข้าสู่ท้องที่แขวงวชิรพยาบาล จากนั้นปรับเป็นทางเดียว เปิดให้รถวิ่งได้เฉพาะขาออกเมือง ก่อนปรับเป็นทางคู่อีกครั้งหลังตัดกับถนนขาว จากนั้นข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาที่สะพานกรุงธนเข้าสู่เขตบางพลัด โดยเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงบางพลัดกับแขวงบางยี่ขันไปจนถึงถนนจรัญสนิทวงศ์ (ทางแยกบางพลัด) โดยมีถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือถนนสิรินธร และได้รับการกำหนดเป็นทางหลวงเอเชียสาย 123 ต่อเนื่องจากถนนสิรินธร ถนนราชวิถีเดิมชื่อ ถนนซางฮี้ สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังดุสิตบริเวณพื้นที่ระหว่างคลองผดุงกรุงเกษมและคลองสามเสน โปรดเกล้าฯ ให้ตัดถนนรอบพระราชวังดุสิต 3 สาย คือ ถนนลก (ปัจจุบันคือถนนพระรามที่ 5) ถนนดวงตะวัน (ปัจจุบันคือถนนศรีอยุธยา) และถนนซางฮี้ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าซังฮี้ (ปัจจุบันคือถนนราชวิถี) นามถนนทั้ง 3 สายนี้ พระราชทานตามชื่อเครื่องกิมตึ๋งคือภาพเครื่องลายครามจีน "ซางฮี้" (อักษรจีน: 雙喜) ในภาษาจีนสำเนียงแต้จิ๋ว แปลว่า มงคลคู่ หมายความว่า สุข สนุก สบาย อักษรซางฮี้ใช้เป็นเครื่องหมายในงานมงคล เช่น งานแต่งงาน และใช้เป็นลวดลายประดับสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่อความเป็นสิริมงคล ต่อมาในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

  • เขตดุสิต

    เขตดุสิต

    เขตในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

    ระยะทาง: ประมาณ 60 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.777,100.52

    ดุสิต เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้า แหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก เขตทหาร แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ตั้งของรัฐสภา กระทรวงต่าง ๆ และพระราชวัง จึงทำให้เขตนี้มีลักษณะราวกับว่าเป็นเขตการปกครองส่วนกลางของประเทศไทย อนึ่ง ที่ทำการสำนักงานส่วนภูมิภาคและสำนักงานประจำประเทศไทย ขององค์การสหประชาชาติ และขององค์การระหว่างประเทศหลายองค์การ ก็อยู่ในพื้นที่เขตนี้

  • สวนสัตว์ดุสิต

    สวนสัตว์ดุสิต

    อดีตสวนสัตว์แห่งแรกของประเทศไทย

    ระยะทาง: ประมาณ 747 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.771826,100.516105

    สวนสัตว์ดุสิต หรือ เขาดินวนา เป็นสวนสัตว์แห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 71 ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ใกล้กับสนามเสือป่าและพระที่นั่งอนันตสมาคม มีเนื้อที่ 118 ไร่ ปัจจุบันสวนสัตว์ดุสิตได้ปิดให้บริการลงตั้งแต่วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2561 โดยได้ย้ายสวนสัตว์ไปสร้างยังสถานที่แห่งใหม่บริเวณอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ซึ่งคาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในปี พ.ศ.

  • ถนนพระรามที่ 5

    ถนนพระรามที่ 5

    ระยะทาง: ประมาณ 168 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.777311,100.521341

    ถนนพระรามที่ 5 (อักษรโรมัน: Thanon Rama V) เป็นถนนในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เริ่มตั้งแต่ถนนลูกหลวง แขวงสวนจิตรลดา บริเวณด้านข้างทำเนียบรัฐบาล เลียบคลองเปรมประชากรไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพิษณุโลกที่ทางแยกพาณิชยการ ตัดกับถนนศรีอยุธยาที่ทางแยกวัดเบญจฯ ตัดกับถนนราชวิถีที่ทางแยกราชวิถี ตัดกับถนนสุโขทัยที่ทางแยกสุโขทัย ข้ามคลองสามเสนเข้าสู่พื้นที่แขวงถนนนครไชยศรี ตัดกับถนนนครไชยศรีที่ทางแยกราชวัตร ตัดกับถนนอำนวยสงครามและถนนเศรษฐศิริที่ทางแยกเกษะโกมล และสิ้นสุดเมื่อไปตัดกับถนนทหารที่ทางแยกสะพานแดง (ถนนสายที่ตรงต่อเนื่องไปคือถนนเตชะวณิช) เป็นถนนขนาด 2 ช่องจราจรในช่วงถนนลูกหลวงถึงทางแยกพาณิชยการ และ 4 ช่องจราจรในช่วงที่เหลือ ถนนพระรามที่ 5 เดิมชื่อ "ถนนลก" เป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นถนนในโครงการถนนอำเภอดุสิต โดยได้ทรงริเริ่มขึ้นพร้อมกับการสร้างพระราชวังดุสิตใน พ.ศ. 2441 ชื่อถนนลกเป็นภาษาจีนมาจากชื่อภาพเครื่องลายครามที่มีภาพลก คือ เทพเจ้าจีนใส่หมวกมีใบพัด 2 ข้าง หรือกวางอยู่ด้วย กวางกับหมวกนั้นมีความหมายว่าเกียรติยศนั่นเอง ครั้นเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์] พ.ศ.

  • วังวาริชเวสม์

    วังวาริชเวสม์

    ระยะทาง: ประมาณ 104 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.7784221,100.5199671

    วังวาริชเวสม์ ตั้งอยู่ที่ซอยสุโขทัย 6 ถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นใน พ.ศ.

  • อาคารรัฐสภาไทย

    อาคารรัฐสภาไทย

    อดีตอาคารรัฐสภาแห่งที่ 2 ของประเทศไทย

    ระยะทาง: ประมาณ 716 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.7744,100.514

    อาคารรัฐสภาแห่งที่ 2 หรือ อาคารรัฐสภาถนนอู่ทองใน เป็นสถานที่ทำงานของสมาชิกฝ่ายนิติบัญญัติของประเทศไทย หรือเรียกว่ารัฐสภาไทย ใช้เป็นที่ประชุมร่วมกันหรือแยกกันของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยและวุฒิสภาไทย ทั้งยังใช้เป็นสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา รวมตลอดถึงหน่วยงานอื่น ๆ ของรัฐสภาด้วย สื่อมวลชน เรียก อาคารรัฐสภาแห่งนี้ว่า สภาหินอ่อน เนื่องจากอาคารรัฐสภาแห่งนี้สร้างด้วยหินอ่อนทั้งหลัง เดิมตั้งอยู่ที่ถนนอู่ทองใน ปัจจุบันได้ถูกทุบทิ้งและส่งคืนพื้นที่ให้กับสำนักพระราชวัง

  • กรมสรรพสามิต

    กรมสรรพสามิต

    หน่วยงานราชการไทย

    ระยะทาง: ประมาณ 623 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.777476,100.525559

    กรมสรรพสามิต (อังกฤษ: The Excise Department) เป็นหน่วยงานระดับกรม สังกัดกระทรวงการคลัง เป็นหน่วยงานที่ดำเนินการจัดเก็บ ภาษีสรรพสามิต เป็นภาษีที่จัดเก็บจากสินค้าและบริการซึ่งมีเหตุผลสมควรที่จะต้องรับภาระภาษีสูงกว่าปกติ เช่น บริโภคแล้วอาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพและศีลธรรมอันดี มีลักษณะฟุ่มเฟือย และสินค้าและบริการที่ได้รับผลประโยชน์เป็นพิเศษจากกิจการของรัฐ เป็นต้น

  • แยกสุโขทัย

    แยกสุโขทัย

    ระยะทาง: ประมาณ 145 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.776528,100.520695

    แยกสุโขทัย เป็นสี่แยกในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดระหว่างถนนสุโขทัยกับถนนพระรามที่ 5

  • ถนนนครไชยศรี

    ถนนนครไชยศรี

    ระยะทาง: ประมาณ 345 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.78055,100.520386

    ถนนนครไชยศรี (อักษรโรมัน: Thanon Nakhon Chai Si) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 2.7 กิโลเมตร เริ่มต้นจากถนนพระรามที่ 6 (แยกโรงกรองน้ำ) ในพื้นที่แขวงพญาไท เขตพญาไท ไปทางทิศตะวันตก ผ่านถนนกำแพงเพชร 5 ถนนเทอดดำริและถนนสวรรคโลก (แยกสามเสน) ผ่านทางรถไฟสายเหนือเข้าสู่พื้นที่แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต ผ่านถนนพระรามที่ 5 (แยกราชวัตร) ถนนพิชัย (แยกพิชัย) ถนนนครราชสีมา ถนนร่วมจิตต์ (แยกร่วมจิตต์) และถนนสามเสน (แยกศรีย่าน) สิ้นสุดที่แม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณท่าเรือพายัพ

  • ถนนพิชัย

    ถนนพิชัย

    ระยะทาง: ประมาณ 394 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.779765,100.516998

    ถนนพิชัย (อักษรโรมัน: Thanon Phichai) เป็นถนนในแขวงดุสิตและแขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นถนนสายสั้น ๆ ที่ตัดเป็นเส้นตรง เริ่มต้นจากถนนราชวิถี ที่เคยเป็นบริเวณหน้าประตูประสาทเทวฤทธิ์ อันเป็นประตูหนึ่งของอาคารรัฐสภาเดิม จากนั้นทอดผ่านถนนสุโขทัยที่แยกขัตติยานี ผ่านบริเวณหน้าที่ทำการพรรคชาติไทยพัฒนา แล้วจึงข้ามคลองสามเสนที่สะพานเทพหัสดิน จากนั้นตัดกับถนนนครไชยศรีที่สี่แยกพิชัย และไปสิ้นสุดที่สามแยกพิชัยซึ่งตัดกับถนนอำนวยสงคราม

  • แยกขัตติยานี

    แยกขัตติยานี

    ระยะทาง: ประมาณ 388 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.778472,100.516358

    แยกขัตติยานี เป็นสี่แยกที่ตัดกันระหว่างถนนสุโขทัยกับถนนพิชัย ในพื้นที่แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร โดยชื่อ "ขัตติยานี" นั้นมาจากชื่อโรงเรียนสำหรับเด็กหญิงที่เคยตั้งอยู่ในบริเวณนี้ในอดีต ด้วยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอัพภันตรีปชา พระเจ้าลูกเธอในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับเจ้าจอมมารดาแส ทรงมีความสนพระทัยด้านการศึกษา จึงมีดำริจัดสร้างโรงเรียนสำหรับเด็กหญิงด้วยทุนทรัพย์ส่วนพระองค์เอง เมื่อครั้งทรงเสด็จออกจากวังสวนสุนันทา มาสร้างพระตำหนักใหม่ คือ ตำหนักพระองค์เจ้าอัพภันตรีปชาและพระองค์เจ้าทิพยาลังการ และจัดตั้งเป็นโรงเรียนชื่อว่า "โรงเรียนอัพภันตรีผดุง" ต่อมาพระองค์ได้ทรงสละพระตำหนักโดยยกให้เป็นสถานศึกษาอย่างเต็มตัว โดยยกให้อยู่ในความดูแลของกระทรวงธรรมการ และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนขัตติยานีผดุง" อันมีความหมายว่า "โรงเรียนที่ขัตติยานีเป็นผู้ดูแลรักษา" โรงเรียนแห่งนี้ได้ปิดกิจการลง ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระองค์เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477 สิริพระชนมายุได้ 45 พรรษา กรุงเทพมหานครจึงได้นำคำว่า "ขัตติยานี" มาใช้เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของสี่แยกดังกล่าว เพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้น้อมรำลึกถึง และเนื่องด้วยแยกขัตติยานี ตั้งอยู่ใกล้กับสถานที่สำคัญทางการเมือง คือ อาคารรัฐสภา (เดิม) บนฝั่งถนนอู่ทองใน ทำให้ได้เป็นสถานที่ ๆ ใช้สำหรับการชุมนุมทางการเมืองหลายครั้ง โดยเฉพาะช่วง พ.ศ. 2556–57 และก่อนหน้านั้นในปี พ.ศ.

สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่

สภาพอากาศปัจจุบัน

เมฆเต็มท้องฟ้า

อุณหภูมิปัจจุบัน

26 องศาเซลเซียส

อุณหภูมิที่เหมาะสม

26 องศาเซลเซียส

อุณหภูมิต่ำสุด

26 องศาเซลเซียส

อุณหภูมิสูงสุด

28 องศาเซลเซียส

ความดันบรรยากาศ

1014 hPa

ความชื้น

57 %

ความกดอากาศระดับน้ำทะเล

1014 hPa

ความดันบรรยากาศพื้นดิน

1013 hPa

ทัศนวิสัย

9000 เมตร

ความเร็วลม

1.54 เมตร/วินาที

ทิศทางลม

70 ระดับ

คลาวด์

91 %

อ่านเพิ่มเติม