43.228.87.154 - การสืบค้น IP: การสืบค้นที่อยู่ IP ฟรี, การสืบค้นรหัสไปรษณีย์, การสืบค้นตำแหน่ง IP, IP ASN, IP สาธารณะ
ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย:
ASN:
ภาษา:
User-Agent:
Proxy IP:
บัญชีดำ:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
IP2Location
43.228.87.154ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
krung thep maha nakhon
เมือง
samphanthawong
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Bangkok
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
ภาษา
User-Agent
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
เขตสัมพันธวงศ์
เขตในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
ระยะทาง: ประมาณ 57 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.731,100.514
สัมพันธวงศ์ เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตที่มีขนาดพื้นที่เล็กและมีจำนวนประชากรน้อยที่สุด สภาพพื้นที่ประกอบไปด้วยแหล่งการค้าหนาแน่นและแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม
สะพานพิทยเสถียร
ระยะทาง: ประมาณ 123 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.73185,100.515183
สะพานพิทยเสถียร หรือสะพานเหล็กล่าง เป็นหนึ่งในสะพานที่สร้างข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ในพื้นที่แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร โดยมีประวัติและที่มาควบคู่ไปกับสะพานดำรงสถิต หรือที่นิยมเรียกว่าสะพานเหล็ก ที่ข้ามคลองโอ่งอ่าง ในเขตพระนคร สะพานพิทยเสถียรตั้งอยู่บนถนนเจริญกรุงช่วงที่มาจากเขตบางรัก ในช่วงที่ตัดกับถนนมหาพฤฒาราม ที่มุ่งหน้ามาจากถนนพระราม 4 ใกล้กับแยกไมตรีจิตต์ ในสมัยรัชกาลที่ 4 เมื่อโปรดให้ประกาศบอกบุญผู้ที่มีจิตศรัทธา ให้ช่วยกันสร้างสะพานข้ามคูคลองในพระนครนั้น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงค์ (ช่วง บุนนาค) ได้สร้างเป็นสะพานโครงเหล็กคู่กับสะพานดำรงสถิต เรียกว่า "สะพานเหล็กล่าง" (ในขณะที่สะพานดำรงสถิต เรียกว่า "สะพานเหล็กบน") พื้นสะพานข้างล่างมีล้อ และรางเหล็กสำหรับเปิดสะพานให้แยกจากกันได้ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 โปรดให้กรมโยธาธิการสร้างใหม่ในพุทธศักราช 2442 เป็นสะพานโครงเหล็กเปิดได้เช่นเดียวกันกับสะพานดำรงสถิต พระราชทานนามว่า "สะพานพิทยเสถียร" เพื่อเป็นเกียรติแก่พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา ซึ่งมีวังที่ประทับอยู่ในบริเวณใกล้เคียง สร้างเสร็จในพุทธศักราช 2443 ในรัชกาลที่ 6 โปรดให้ปรับปรุงสะพานนี้ใหม่ ซึ่งคือสะพานที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน จดหมายเหตุการอนุรักษ์กรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ.
วัดมหาพฤฒารามวรวิหาร
วัดในกรุงเทพมหานคร
ระยะทาง: ประมาณ 271 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.732809,100.516213
วัดมหาพฤฒาราม วรวิหาร เป็นพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนมหาพฤฒาราม แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์
ระยะทาง: ประมาณ 260 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.7319855,100.5164534
โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนสตรีในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดทำการสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2461 ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ในปี พ.ศ.
ริเวอร์ซิตี
ศูนย์การค้าริมแม่น้ำเจ้าพระยา
ระยะทาง: ประมาณ 225 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.72948,100.51395
ศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้ (อังกฤษ: River City Bangkok Shopping Center) เป็นศูนย์การค้าริมแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งแรกของประเทศไทย บริหารโดยการร่วมทุนระหว่างกลุ่มอิตัลไทย และกลุ่มแมนดาริน โอเรียนเต็ล มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว อยู่ใกล้กับโรงแรมชั้นนำ ระดับห้าดาว เช่น โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล กรุงเทพ, โรงแรมเพนนินซูล่า, โรงแรมแชงกรี-ลา กรุงเทพฯ, โรงแรมรอยัล ออคิด เชอราตัน และ โรงแรมมิลเลนเนียม ฮิลตัน เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2527 ริเวอร์ซิตี้เป็นอาคารศูนย์การค้า 4 ชั้น ออกแบบโดย ศ.(กิตติคุณ) ร.อ. กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา ได้รับรางวัลสถาปัตยกรรมดีเด่น ด้านการออกแบบในปี พ.ศ.
สถานีรถไฟปากคลองสาน
ระยะทาง: ประมาณ 465 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.7291089,100.5105686
สถานีรถไฟปากคลองสาน ในอดีตเป็นสถานีต้นทางของทางรถไฟสายแม่กลอง ตั้งอยู่บริเวณตลาดปากคลองสาน เขตคลองสาน เดิมมีทางรถไฟเชื่อมกับท่าแพขนานยนต์ เพื่อใช้ขนส่งขบวนรถ และหัวรถจักรไปซ่อมบำรุงทีสถานีรถไฟบางกอกน้อย หรือสถานีรถไฟมักกะสัน สถานีรถไฟปากคลองสานเปิดให้ประชาชนใช้งานตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม ร.ศ. 123 (พ.ศ. 2447) โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะนั้นทรงเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ทรงเปิดเส้นทางปากคลองสาน-มหาชัย เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม ร.ศ.
เซียงกง
ระยะทาง: ประมาณ 248 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.733242,100.512668
เซียงกง (อักษรโรมัน: Sieng Kong, Xiang Gong; จีน: 仙公) เป็นกลุ่มธุรกิจจำหน่ายอะไหล่ ชิ้นส่วนประกอบ และ เครื่องยนต์สำหรับรถใช้แล้ว คำว่าเซียงกงมาจากชื่อของศาลเจ้าเซียงกง ที่ตั้งอยู่ใกล้บริเวณถนนทรงวาดส่วนที่ตัดกับถนนเจริญกรุง (วงเวียนข้าวหลาม) แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เป็นชุมชนชาวจีน ย่านนี้เรียกว่า เซียงกง หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ซอยวานิช 2 สามารถเข้ามาถึงได้จากซอยเจริญกรุง 20 หรือซอยเจริญกรุง 22 และถนนทรงวาด ทั้งนี้คำว่า "เซียงกง" นั้นแปลตรงตัวได้ว่า "ผู้นำเซียน" (仙; เซียน และ 公; ผู้นำ)
แขวงตลาดน้อย
แขวงในเขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
ระยะทาง: ประมาณ 380 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.734757,100.513063
บทความนี้เป็นแขวงในเขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร ในส่วนของตำบลตลาดน้อย จังหวัดสระบุรี ดูที่: อำเภอบ้านหมอ
ซอยกัปตันบุช
ระยะทาง: ประมาณ 287 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.729265,100.515416
ซอยกัปตันบุช หรือ ตรอกกัปตันบุช หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ซอยเจริญกรุง 30 เป็นซอยแยกจากถนนเจริญกรุงในพื้นที่แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ใกล้กับถนนสี่พระยาและท่าน้ำสี่พระยา ติดกับริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ชื่อซอยกัปตันบุชมีที่มาจากจอห์น บุช นักเดินเรือชาวอังกฤษ ผู้เข้ามาอาศัยและรับราชการในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 จนมีตำแหน่งเป็นอธิบดีกรมเจ้าท่า และได้รับบรรดาศักดิ์เป็นพระยาวิสูตรสาครดิฐ ซึ่งเคยมีบ้านพำนักอยู่บริเวณแถบนี้ โดยในซอยเป็นที่ตั้งของบ้านเลขที่ 1 ของถนนเจริญกรุง เป็นบ้านที่มีสถาปัตยกรรมสวยงามแบบยุโรปนีโอคลาสสิก ตัวอาคารก่ออิฐถือปูนสองชั้น หลังคาทรงปั้นหยา และออกแบบเป็นหน้าจั่วตรงกลางด้านหน้าอาคาร ผนังทาสีเหลือง หน้าต่างทาสีเขียวมะกอกตัดขอบขาว ประตูหน้าต่างเป็นทรงโค้งแบบโรมัน บ้านหลังนี้มักมีความเข้าใจผิดว่าเป็นบ้านของกัปตันบุช แต่ตามหลักฐานชื่อของเจ้าบ้านเลขที่ 1 ถนนเจริญกรุงของกรมไปรษณีย์โทรเลข พบว่าในปี พ.ศ. 2454 เป็นบ้านของขุนราชพิมาน บุตรชายของพระยาพิทักษ์ภูบาล ขึ้นกรมรักษาพระองค์ปืนทองปลายซ้าย เคยเป็นอาคารที่ทำการของกรมพระคลังข้างที่ (สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ในปัจจุบัน) และเคยเป็นที่ทำการของบริษัทสุราฝรั่งเศส รวมถึงเคยเป็นที่ตั้งของโรงเรียนอาชีวศึกษาแห่งแรกในประเทศไทยอีกด้วย คือ โรงเรียนอาชีพช่างกล (สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ในปัจจุบัน) ซึ่งในระยะแรกดำเนินกิจการและทำการสอนโดยทหารเรือ ปัจจุบันสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ได้เข้ามาบูรณะ ถือเป็นอาคารอนุรักษ์และโบราณสถานแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร และด้านข้างทางขวา เป็นอาคารคลังสินค้าเก่า ซึ่งครั้งหนึ่ง หลุยส์ ที. ลีโอโนเวนส์ บุตรชายของแอนนา ลีโอโนเวนส์ หรือแหม่มแอนนา เคยมาเช่าประกอบกิจการอยู่ ในอดีต ย่านซอยกัปตันบุชตลอดจนถนนเจริญกรุง รวมถึงถนนสี่พระยา เป็นย่านแห่งหนึ่งที่มีความคึกคักและเจริญที่สุดของกรุงเทพมหานคร นอกเหนือจากย่านเยาวราช, สำเพ็ง หรือตลาดน้อย เป็นแหล่งที่อาศัยและประกอบกิจการรวมถึงเป็นที่ทำการทางราชการของชาวต่างชาติ โดยเฉพาะชาวตะวันตก ซึ่งยังคงปรากฏหลักฐานมาจนถึงปัจจุบันด้วยอาคารเก่าแก่ที่มีความสวยงามทางสถาปัตยกรรมหลายแห่ง เช่น สถานทูตโปรตุเกส อันเป็นสถานทูตต่างประเทศแห่งแรกที่มีขึ้นในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยสร้างมาตั้งแต่รัชสมัยรัชกาลที่ 2 ตัวอาคารสร้างด้วยสถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียลโปรตุเกส, อาคารศุลกสถาน หรือโรงภาษีร้อยชักสาม โรงภาษีเก็บค่าภาษีจากเรือสินค้าต่างชาติ ตัวอาคารเป็นสถาปัตยกรรมแบบปัลลาดีโอ, ที่ทำการของฮ่องกงและเซี่ยงไฮ้แบงกิ้งคอร์ปอเรชั่น ธาคารสัญชาติฮ่องกง ที่เข้ามาเปิดกิจการในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ.
ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย
อาคารอนุรักษ์ในเขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร
ระยะทาง: ประมาณ 134 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.7318,100.5129
ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาตลาดน้อย เป็นสาขาหนึ่งของธนาคารไทยพาณิชย์ ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 1280, 1280/1 ถนนโยธา แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร โดยธนาคารแห่งนี้ มีประวัติความเป็นมาที่เก่าแก่ยาวนาน โดยเป็นที่ทำการของธนาคารแห่งแรกในประเทศไทย เริ่มก่อตั้งขึ้นในนาม "บุคคลัภย์" โดยพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไชยันตมงคล กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ. 2447 เพื่อให้เป็นสถาบันการเงินที่เป็นฐานรองรับการเติบโตด้านเศรษฐกิจของไทย และได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น "แบงก์สยามกัมมาจล" ในปี พ.ศ. 2449 และได้เปลี่ยนชื่อเป็น "ธนาคารไทยพาณิชย์" ในปี พ.ศ.
ถนนมหาพฤฒาราม
ระยะทาง: ประมาณ 423 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.734558,100.516424
ถนนมหาพฤฒาราม (อักษรโรมัน: Thanon Maha Phruettharam) เป็นถนนสายหนึ่งในแขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร
แยกสี่พระยา
ระยะทาง: ประมาณ 223 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.730167,100.515642
แยกสี่พระยา (อักษรโรมัน: Si Phraya Intersection) ทางแยกหนึ่งในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นสี่แยกที่ตัดกันระหว่างถนนสี่พระยากับถนนเจริญกรุง ในแขวงมหาพฤฒาราม และแขวงสี่พระยา เขตบางรัก อยู่ไม่ไกลจากท่าน้ำสี่พระยา, โรงแรมรอยัลออร์คิดเชอราตัน และริเวอร์ซิตี้ โดยบริเวณทางแยกนี้ทางฝั่งถนนสี่พระยาทิศเหนือมีทางพิเศษศรีรัช หรือทางด่วนศรีรัชตัดผ่านด้านบนด้วย
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
เมฆเต็มท้องฟ้า
29 องศาเซลเซียส
29 องศาเซลเซียส
26 องศาเซลเซียส
29 องศาเซลเซียส
1010 hPa
44 %
1010 hPa
1009 hPa
10000 เมตร
1.06 เมตร/วินาที
1.4 เมตร/วินาที
206 ระดับ
100 %