logo
หน้าแรก>

37.44.6.135 - แบบสอบถาม IP

สอบถาม

ประเทศ/ภูมิภาค:

flagsเยอรมนี

รัฐ/จังหวัด:

be

เมือง:

berlin

ละติจูดและลองจิจูด:

52.530900,13.353700

โซนเวลาท้องถิ่น:

Europe/Berlin

รหัสไปรษณีย์:

10559

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย:

ภาษา:

*

User-Agent:

undici

Proxy IP:

เลขที่

บัญชีดำ:

เลขที่

ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ

ip-api

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

IPinfo

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

MaxMind

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

Luminati

ประเทศ/ภูมิภาค

flagsDE

รัฐ/จังหวัด

be

เมือง

berlin

โซนเวลาท้องถิ่น

Europe/Berlin

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

SysEleven GmbH

ละติจูด

52.553

ลองจิจูด

13.4528

รหัสไปรษณีย์

13086

db-ip

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

ipdata

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

  • การตรวจจับการรั่วไหลของ WebRTC
    เริ่ม
  • การตรวจจับการรั่วไหลของ DNS
    เริ่ม
  • การทดสอบ HTTP2/SSL/TLS
    เริ่ม

สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้

  • กำแพงเบอร์ลิน

    กำแพงเบอร์ลิน

    ระยะทาง: ประมาณ 2289 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 52.516,13.377

    กำแพงเบอร์ลิน (อังกฤษ: Berlin Wall; เยอรมัน: Berliner Mauer) เป็นกำแพงที่สร้างขึ้นช่วงสงครามเย็น มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้นพรมแดนระหว่างเบอร์ลินตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีตะวันตก กับเยอรมนีตะวันออกที่โอบอยู่โดยรอบ มีความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) และปิดกั้นพรมแดนนี้เป็นระยะเวลา 28 ปี ก่อนถูกทลายในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.

  • แม่น้ำชเปร

    แม่น้ำชเปร

    ระยะทาง: ประมาณ 1432 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 52.51944444,13.36333333

    ชเปร (เยอรมัน: Spree; ซอร์บ: Sprowja หรือ Sprewja) เป็นแม่น้ำในรัฐแซกโซนี รัฐบรันเดินบวร์ค และรัฐเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ชเปรเป็นสาขาด้านซ้ายของแม่น้ำฮาเฟิล มีความยาวประมาณ 400 ก.ม.

  • ประตูบรันเดินบวร์ค

    ประตูบรันเดินบวร์ค

    ระยะทาง: ประมาณ 2302 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 52.51627222,13.37772222

    ประตูบรันเดินบวร์ค (เยอรมัน: Brandenburger Tor) เป็นอดีตประตูเมืองที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นประตูชัยที่สร้างแบบสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก (Neoclassical) และปัจจุบันถือว่าเป็นสถานที่สำคัญที่เป็นที่รู้จักกันอย่างดีใน กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ประตูบรันเดินบวร์คตั้งอยู่ฝั่งตะวันของใจกลางกรุงเบอร์ลินบริเวณชุมทางระหว่างถนนหลวงอุนเทอร์ เดน ลินเดน (Unter den Linden) กับถนนเอเบิร์ทชตรัสเซอ (Ebertstraße) และอยู่ทางทิศตะวันตกของจัตุรัสพาริเซอร์ (Pariser Platz) ห่างประตูออกไปทางเหนือหนึ่งบล็อก เป็นที่ตั้งของอาคารไรชส์ทาค

  • ชารีเท

    ชารีเท

    ระยะทาง: ประมาณ 1653 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 52.52694444,13.37722222

    ชารีเท (เยอรมัน: Charité) เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป ตามที่อ้างในปี พ.ศ.

  • ศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์เบอร์ลิน

    ศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์เบอร์ลิน

    ระยะทาง: ประมาณ 2850 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 52.50638889,13.36583333

    ศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์เบอร์ลิน (เยอรมัน: Wissenschaftszentrum Berlin für Sozialforschung หรือย่อว่า WZB) เป็นสถาบันวิจัยที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ ในด้านสังคมศาสตร์ แต่สถาบันประเภทนี้ที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป ศูนย์วิจัยก่อตั้งใน ค.ศ.

  • ยุทธการที่เบอร์ลิน

    ยุทธการที่เบอร์ลิน

    ระยะทาง: ประมาณ 2557 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 52.51666667,13.38333333

    ยุทธการที่เบอร์ลิน หรือที่สหภาพโซเวียตตั้งชื่อว่า ปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์เบอร์ลิน (รัสเซีย: Битва за Берлин, Берлинская наступательная операция, Штурм Берлина) เป็นการรุกใหญ่ในช่วงปลายเขตสงครามยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สอง เริ่มจากวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1945 กองทัพแดงเจาะแนวรบเยอรมันหลังการรุกวิสตูลา–โอเดอร์และรุกมาทางทิศตะวันตกไกลถึง 40 กิโลเมตรต่อวันผ่านปรัสเซียตะวันออก โลว์เออร์ไซลีเชีย พอเมอราเนียตะวันออกและอัปเปอร์ไซลีเชีย และหยุดชั่วคราวตรงเส้น 60 กิโลเมตรทางตะวันออกของกรุงเบอร์ลินตามแม่น้ำโอเดอร์ เมื่อการรุกเริ่มขึ้นอีกครั้ง สองแนวรบ (กลุ่มกองทัพ) ของโซเวียตเข้าตีกรุงเบอร์ลินจากทางตะวันออกและใต้ ขณะที่แนวรบที่สามบุกกำลังเยอรมันซึ่งตั้งอยู่ทางเหนือของเบอร์ลิน ยุทธการในเบอร์ลินกินเวลาระหว่างวันที่ 20 เมษายนถึงเช้าวันที่ 2 พฤษภาคม มีการเตรียมตั้งรับที่ชานกรุงเบอร์ลินครั้งแรกเมื่อวันที่ 20 มีนาคม เมื่อผู้บัญชาการกองทัพกลุ่มวิสตูลาซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ พลเอก กอททาร์ด ไฮน์รีซี คาดเดาได้ถูกต้องว่าโซเวียตจะผลักดันข้ามแม่น้ำวิสตูลาเป็นหลัก ก่อนการยุทธ์หลักในกรุงเบอร์ลินจะเริ่มขึ้น ฝ่ายโซเวียตจัดการล้อมนครอันเป็นผลจากความสำเร็จในยุทธการที่ราบสูงซีโลว์และที่ฮัลเบอ วันที่ 20 เมษายน ค.ศ.

  • อาคารไรชส์ทาค

    อาคารไรชส์ทาค

    ระยะทาง: ประมาณ 2057 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 52.51861111,13.37638889

    อาคารไรชส์ทาค (เยอรมัน: Reichstagsgebäude [ˈʁaɪçstaːksɡəˌbɔʏdə]) หรือมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า อาคารที่ประชุมใหญ่ไรชส์ทาค (เยอรมัน: Deutscher Bundestag – Plenarbereich Reichstagsgebäude [ˈdɔʏtʃɐ ˈbʊndəsˌtaːk ˈpleːnaːɐ̯bəˌʁaɪç ˈʁaɪçstaːksɡəˌbɔʏdə]) เป็นอาคารรัฐสภาทางประวัติศาสตร์ ตั้งอยู่ที่พลัทซ์แดร์รีปูบลิกในกรุงเบอร์ลิน เป็นที่ตั้งของบุนเดิสทาค(สภาสหพันธ์)ของเยอรมัน มันยังเป็นสถานที่ที่ประชุมของบุนเดิสแฟร์ซัมลุง(สมัชชาสหพันธ์) ที่ซึ่งได้เลือกประธานาธิบดีแห่งเยอรมนีอีกด้วย อาคารรูปแบบสไตล์นีโอ-เรเนซองส์ ถูกสร้างขึ้นระหว่าง ค.ศ. 1884 และ 1894 ในเขตเทียร์กาเทิน บนฝั่งซ้ายของแม่น้ำชเปร ตามการออกแบบโดยสถาปนิกชาวเยอรมันนามว่า เพาล์ วัลลอท มันเป็นที่ตั้งของทั้งรัฐสภาไรชส์ทาคของจักรวรรดิเยอรมันและรัฐสภาไรชส์ทาคของสาธารณรัฐไวมาร์ สภาสหพันธ์ไรชส์ยังได้ประชุมกันที่นั่นในตอนแรก อาคารนี้ได้ถูกใช้โดยรัฐสภาไรชส์ทาคของนาซีเยอรมนี แต่ได้รับความเสียหายอย่างรุนแรงจากเหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาคใน ค.ศ. 1933 ทำให้ไม่สามารถใข้อาคารนี้ได้อีกต่อไป และรัฐสภาไรชส์ทาคจึงย้ายไปอยู่ที่โรงอุปรากรครอลล์ที่อยู่ใกล้เคียง เหตุเพลิงไหม้ ค.ศ.

  • บุนเดิสทาค

    บุนเดิสทาค

    สภานิติบัญญัติแห่งประเทศเยอรมนี รัฐสภา

    ระยะทาง: ประมาณ 2043 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 52.51861111,13.37611111

    บุนเดิสทาค (เยอรมัน: Bundestag; แปลว่า สภาสหพันธ์) เป็นสภากลางของประเทศเยอรมนี เป็นสถาบันนิติบัญญัติเดียวที่สมาชิกได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนทั่วทั้งประเทศ บุนเดิสทาคอาจเทียบได้กับสภาล่างในประเทศที่ใช้ระบบสองสภา เช่น สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ บุนเดิสทาคดำรงอยู่ตามบทบัญญัติหมวดที่สามของกฎหมายพื้นฐานสำหรับสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (รัฐธรรมนูญ) ซึ่งบังคับใช้เมื่อ ค.ศ.

  • อนุสรณ์สถานแด่ชาวยิวผู้ถูกสังหารในยุโรป

    อนุสรณ์สถานแด่ชาวยิวผู้ถูกสังหารในยุโรป

    ระยะทาง: ประมาณ 2549 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 52.51388889,13.37888889

    อนุสรณ์สถานชาวยิวผู้ถูกสังหารในยุโรป (อังกฤษ: Memorial to the Murdered Jews of Europe, เยอรมัน: Denkmal für die ermordeten Juden Europas) หรือ อนุสรณ์สถานฮอโลคอสต์ (เยอรมัน: Holocaust-Mahnmal) เป็นอนุสรณ์สถานในเบอร์ลินที่ระลึกถึงเหยื่อชาวยิวจากฮอโลคอสต์ ผลงานออกแบบโดย ปีเตอร์ ไอเซนมัน และ บูโร ฮัพโพลด์ มีขนาดพื้นที่รวม 19,000-ตารางเมตร (200,000-ตารางฟุต) ซึ่งเต็มไปด้วยแผ่นคอนกรีต 2,711 ชิ้นที่วางเรียกกันเป็นรูปแบบกริด บนลานซึ่งมีความชัน แปลนเดิมตั้งใจจะสร้างแผ่นคอนกรีตรวม 4,000 แผ่น แต่หลังการคำนวณใหม่เพื่อให้เข้ากันได้กับกฎหมาย ปริมาณสูงสุดที่จะสร้างแผ่นคอนกรีตได้คือ 2,711 แผ่น แผ่นคอนกรีตเหล่านี้เรียกว่า สเตเล (stelae) และแต่ละแผ่นมีความขาว 2.38 m (7 ft 9 1⁄2 in) กว้าง 0.95 m (3 ft 1 1⁄2 in) และมีความสูงต่างกันไประหว่าง 0.2 ถึง 4.7 เมตร (8 นิ้ว ถึง 15 ฟุต 5 นิ้ว) วางเรียงกันเป็นแถวรวม 54 แถวจากเหนือจรดใต้ และ 87 แถวในทิศตะวันออกจรดตะวันตก ทำมุมฉากกันแต่เอียงเล็กน้อย ใต้ดินของอนุสรณ์สถานเป็น "สถานข้อมูล" (เยอรมัน: Ort der Information) ซึ่งแสดงรายชื่อชาวยิวราวสามล้านคนที่ถูกสังหารในฮอโลคอสต์ ซึ่งได้รับมาจากยัดวาเชมในอิสราเอล

  • เสาแห่งชัยชนะ เบอร์ลิน

    เสาแห่งชัยชนะ เบอร์ลิน

    อนุสรณ์ในกรุงเบอร์ลินที่สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงชัยชนะของปรัสเซียในสงครามชเลสวิชครั้งที

    ระยะทาง: ประมาณ 1849 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 52.51444444,13.35

    เสาแห่งชัยชนะ (อังกฤษ: Victory Column) หรือ ซีกเกอซ็อยเลอ (เยอรมัน: , จาก Sieg ‘ชัยชนะ’ + Säule ‘เสา’) เป็นอนุสรณ์ในเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ผลงานออกแบบโดยไฮน์ริช สตาร์ค หลังปี 1864 เพื่อระลึกถึงชัยชนะของปรัสเซียในสงครามชเลสวิชครั้งที่สอง ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์อนุสรณ์เมื่อวันที่ 2 กันยายน 1873 แต่ในเวลานั้น ปรัสเซียสามารถเอาชนะออสเตรียและบรรดาพันธมิตรเยอรมันในสงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย (1866) และ ฝรั่งเศสในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย (1870–71) ทำให้อนุสรณ์นี้มีเป้าหมายเพิ่มเติมอีก ชัยชนะเพิ่มเติมในสงครามรวมชาติเยอรมนีได้นำไปสู่การเพิ่มเติมประติมากรรมทองสัมฤทธิ์ของเทพีวิกตอเรีย เทพีแห่งชัยชนะของโรมัน ขึ้นบนยอดของเสาจากแปลนเดิม ประติมากรรมนี้มีความสูง 8.3 เมตร (27 ฟุต) และออกแบบโดย ฟรีดริช ดราเกอ

  • โบสถ์ยิวใหม่ (เบอร์ลิน)

    โบสถ์ยิวใหม่ (เบอร์ลิน)

    ระยะทาง: ประมาณ 2844 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 52.52472222,13.39444444

    โบสถ์ยิวใหม่ (เยอรมัน: Neue Synagoge) เป็นโบสถ์ยิวสร้างขึ้นในกลางศตวรรษที่ 19 ตั้งอยู่บนโอราไนน์บูร์แฌร์สตราส ในเบอร์ลิน สร้างขึ้นเพื่อเป็นศูนย์กลางหนึ่งสำหรับศาสนพิธีของชุมชนชาวยิว แทนที่โบสถ์ยิวเก่าซึ่งมีขนาดเล็กเกินไปสำหรับชุมชนที่ขยายใหญ่ขึ้น โบสถ์ยิวใหม่สร้างด้วยอิฐพอลีโครม และประดับประดาฟาซาดด้วยอิฐแกะสลักและงานดินเผา และแต่งสีด้วยเครื่องเคลือบดินเผา โดมของโบสถ์ยิวซึ่งโดดเด่นทำให้อาคารนี้เป็นหนึ่งในจุดหมายตาของเบอร์ลิน

  • ฟูทูรีอุม

    ฟูทูรีอุม

    ระยะทาง: ประมาณ 1587 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 52.5241,13.3743

    ฟูทูรีอุม (เยอรมัน: Futurium) เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีห้องทดลองและจัดแสดงนิทรรศการแนวล้ำสมัย ฟูทูรีอุมเป็นโครงการที่คณะรัฐมนตรีเยอรมนีและบรรดาหน่วยงานด้านวิทยาศาสตร์ริเริ่มขึ้น ฟูทูรีอุมเปิดให้บริการเมื่อเดือนกันยายน 2019 เพื่อเป็น "สถานที่เพื่อนำเสนอและพูดคุยเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ การค้นคว้าวิจัย และการพัฒนา"

สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่

สภาพอากาศปัจจุบัน

เมฆเต็มท้องฟ้า

อุณหภูมิปัจจุบัน

21 องศาเซลเซียส

อุณหภูมิที่เหมาะสม

21 องศาเซลเซียส

อุณหภูมิต่ำสุด

20 องศาเซลเซียส

อุณหภูมิสูงสุด

22 องศาเซลเซียส

ความดันบรรยากาศ

1002 hPa

ความชื้น

70 %

ความกดอากาศระดับน้ำทะเล

1002 hPa

ความดันบรรยากาศพื้นดิน

997 hPa

ทัศนวิสัย

10000 เมตร

ความเร็วลม

4.02 เมตร/วินาที

ลมกระโชกแรง

6.71 เมตร/วินาที

ทิศทางลม

180 ระดับ

คลาวด์

100 %

เวลาพระอาทิตย์ขึ้น

07:20:04

เวลาพระอาทิตย์ตก

18:27:45

อ่านเพิ่มเติม