24.39.107.129 - การสืบค้น IP: การสืบค้นที่อยู่ IP ฟรี, การสืบค้นรหัสไปรษณีย์, การสืบค้นตำแหน่ง IP, IP ASN, IP สาธารณะ
ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
nj
เมือง
palisadespark
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
America/New_York
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
TWC-12271-NYC
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
IP2Location
24.39.107.129ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
new jersey
เมือง
palisades park
โซนเวลาท้องถิ่น
America/New_York
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
ภาษา
User-Agent
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
เซ็นทรัลพาร์ก
สวนสาธารณะในนครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา
ระยะทาง: ประมาณ 7836 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.78222222,-73.96527778
เซ็นทรัลพาร์ก (อังกฤษ: Central Park) เป็นสวนสาธารณะระดับเมือง ตั้งอยู่ระหว่างย่านอัปเปอร์เวสต์ไซด์และอัปเปอร์อีสต์ไซด์ของเขตแมนแฮตตันในนครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เป็นสวนสาธารณะที่มีการออกแบบภูมิทัศน์แห่งแรกในประเทศ เป็นสวนสาธารณะที่ใหญ่ที่สุดในเมืองอันดับที่ 6 ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ 843 เอเคอร์ (341 เฮกตาร์) และเป็นสวนสาธารณะในเมืองที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในสหรัฐ โดยมีผู้เข้าชมประมาณ 42 ล้านคนต่อปี ณ ปี 2016
แมนแฮตตัน
เขตและเทศมณฑลในนครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา
ระยะทาง: ประมาณ 7680 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.78333333,-73.96666667
แมนแฮตตัน (อังกฤษ: Manhattan) เป็นหนึ่งใน 5 เขตการปกครองท้องถิ่นของนครนิวยอร์ก ตั้งอยู่บนเกาะแมนแฮตตันที่ปากแม่น้ำฮัดสัน ประกอบไปด้วยเกาะแมนแฮตตันและเกาะเล็ก ๆ ที่อยู่ติดกัน คือ เกาะโรสเวลต์ (Roosevelt Island), เกาะแรนดัลส์ (Randall's Island), เกาะวาร์ด (Wards Island), เกาะกอฟเวิร์นเนอส์ (Governors Island), เกาะลิเบอร์ตี (Liberty Island), เกาะเอลลิส, เกาะอูตัน (U Thant Island) รวมถึงมาร์เบิลฮิลล์ แมนแฮตตันมีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับ 3 จาก 5 เขตการปกครองท้องถิ่นของนครนิวยอร์ก นครนิวยอร์กส่วนดั้งเดิมนั้นมีจุดเริ่มต้นจากส่วนล่างของแมนแฮตตัน จากนั้นในปี ค.ศ. 1898 (พ.ศ. 2441) เมืองก็ขยายตัวขึ้น ถึงแม้ว่าแมนแฮตตันจะเป็นส่วนที่เล็กมากที่สุด แต่ก็เป็นส่วนที่มีความเจริญมากที่สุด บริเวณนครนิวยอร์กเป็นหนึ่งในบริเวณที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในสหรัฐอเมริกา และหนาแน่นสุดในโลกแห่งหนึ่ง ด้วยจำนวนประชากร 1,634,795 คน ในปี ค.ศ.2008 (พ.ศ.
มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย
ระยะทาง: ประมาณ 5440 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.8075,-73.96194444
มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย (Columbia University in the City of New York) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยในกลุ่มไอวีลีก ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลกแห่งหนึ่ง เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของนครนิวยอร์กและเก่าแก่ที่สุดอันดับที่ห้าของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่นิวยอร์กซิตี ในรัฐนิวยอร์กในส่วนของชุมชนมอร์นิงไซด์บริเวณส่วนเหนือของเกาะแมนแฮตตัน ก่อตั้งก่อนการประกาศอิสรภาพของประเทศในปี พ.ศ. 2297 (ค.ศ. 1754) ในชื่อของ วิทยาลัยคิงส์ (King's College) โดยได้รับเงินสนับสนุนจากสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งอังกฤษ ภายหลังสหรัฐอเมริกาปฏิวัติ โคลัมเบียได้รับการสนับสนุนในฐานะเอกลักษณ์ทางปรัชญาของรัฐตั้งแต่ปี 2327 - 2330 ผู้ได้รับรางวัลโนเบล ทั้งที่เป็นศิษย์เก่าและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยทั้งสิ้น 102 ท่าน ถือว่ามากที่สุดอันดับ 2 ของโลก ศิษย์เก่าที่เป็นประธานาธิบดีและนากยกรัฐมนตรีจากทั่วโลกจำนวน 29 ท่าน ศิษย์เก่าที่ดำรงตำแหน่ง CEO ของบริษัทยักษ์ใหญ่ของโลก (Fortune Global 500) จำนวน 45 ท่าน และมีผู้ชนะรางวัลออสการ์ 28 ท่าน นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังเป็นผู้มอบรางวัลพูลิตเซอร์ แก่ผู้ได้รับเกียรติสูงสุดระดับชาติในวงการสิ่งพิมพ์ การบรรลุความสำเร็จทางวรรณกรรม และการประพันธ์เพลงในสาขาวารสารศาสตร์ เมื่อกว่า 100 ปีมาแล้ว ซึ่งวิทยาลัยวิชาการหนังสือพิมพ์ของโคลัมเบียนับได้ว่าโดดเด่นมากที่สุดของโลกในปัจจุบัน โคลัมเบียได้รับความนิยมจากผู้นำประเทศต่างๆ รวมทั้งผู้นำของสหรัฐอเมริกาอย่าง ทีโอดอร์ รูสเวลต์และแฟรงกลิน ดี.
ยูเอสแอร์เวย์ เที่ยวบินที่ 1549
ระยะทาง: ประมาณ 8781 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.769498,-74.004636
วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2552 ยูเอสแอร์เวย์ เที่ยวบินที่ 1549 (AWE1549) ซึ่งเป็นเครื่องแอร์บัส เอ320 ที่กัปตัน เชสลีย์ บี. "ซัลลี" ซัลเลนเบอร์เกอร์ (Chillin B. "Sully" Sullenberger) และผู้ช่วยนักบินเจฟฟรี สไคลส์ (Frack Skiles) เป็นผู้ขับลงจอดบนน้ำฉุกเฉินแบบไม่เดินเครื่องในแม่น้ำฮัดสันหลังจากการชนฝูงนกเป็นเหตุให้เครื่องยนต์เจ็ตทั้งสองเครื่องหยุดทำงาน ผู้โดยสารและลูกเรือทั้งหมด 155 คนบนเครื่องได้รับการอพยพจากลำตัวเครื่องที่จมน้ำบางส่วนในแม่น้ำ โดยได้รับการกู้ภัยจากเรือที่อยู่ในละแวกนั้น มีคนบนเครื่องได้รับบาดเจ็บหลายคน บางคนบาดเจ็บสาหัส แต่มีเพียงคนเดียวที่ต้องนอนรักษาตัวที่โรงพยาบาล เหตุการณ์นี้ถูกเรียกว่า "ปาฏิหาริย์แม่น้ำฮัดสัน" และหลายคนได้ยกย่องกัปตันซัลเลนเบอร์เกอร์ให้เป็นวีรบุรุษ อากาศยานลำนี้เป็นแอร์บัส เอ320-200 เลขทะเบียน N106US กำลังปฏิบัติงานเป็นเที่ยวบินพาณิชย์โดยสารในประเทศตามกำหนดของยูเอสแอร์เวย์จากท่าอากาศยานลากวาร์เดียในนครนิวยอร์กสู่ท่าอากาศยานนานาชาติชาร์ล็อตต์/ดักลาส ในชาร์ลอตต์ รัฐนอร์ทแคโรไลนา หลังเริ่มบินได้ประมาณสามนาที เมื่อเวลา 15:27 น.
A Great Day in Harlem
ระยะทาง: ประมาณ 6631 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.806874,-73.941005
อะเกรตเดย์อินฮาร์เล็ม หรือ ฮาร์เล็ม 1958 เป็นชื่อของภาพถ่ายขาวดำของกลุ่มนักดนตรีแจ๊สจำนวน 57 คน ที่ถ่ายเมื่อปี ค.ศ. 1958 บริเวณริมถนน หน้าอาคารแห่งหนึ่งในย่านฮาร์เล็ม มหานครนิวยอร์ก ภาพหมู่นี้ถ่ายโดยอาร์ต เคน ช่างภาพอิสระของนิตยสารเอสไควร์ เมื่อเวลาประมาณ 10 นาฬิกา ของวันหนึ่งกลางฤดูร้อนของปี 1958 บริเวณหน้าบ้านเลขที่ 17 ถนนสายที่ 126 (อยู่ระหว่างฟิฟต์แอฟวะนิว และเมดิสันแอฟวะนิว) ในย่านฮาร์เล็มตะวันออก พิมพ์ครั้งแรกในนิตยสารเอสไควร์ ฉบับเดือนมกราคม ค.ศ. 1959 และกลายเป็นภาพถ่ายที่มีชื่อเสียง ในปี ค.ศ.
สะพานจอร์จ วอชิงตัน
ระยะทาง: ประมาณ 3826 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.851589,-73.952483
สะพานจอร์จ วอชิงตัน (อังกฤษ: George Washington Bridge) หรือที่รู้จักกันในชื่ออย่างไม่เป็นทางการอีกหลายชื่อ เป็นสะพานแขวนทอดข้ามแม่น้ำฮัดสัน เชื่อมระหว่างเขตชุมชนย่อยวอชิงตันไฮต์กับโบโรฮ์แมนฮัตตันในนครนิวยอร์ก กับฟอร์ตลี เบอร์เกนเคาน์ตี รัฐนิวเจอร์ซีย์ ถนนระหว่างรัฐหมายเลข 95 และทางหลวงสหรัฐหมายเลข 1/9 ข้ามแม่น้ำที่สะพานแห่งนี้ ทางหลวงสหรัฐหมายเลข 46 ซึ่งทั้งหมดอยู่ในรัฐนิวเจอร์ซีย์ สิ้นสุดครึ่งทางข้ามสะพานที่พรมแดนรัฐ สะพานนี้มีชั้นบนเป็นถนนสี่เลนทั้งสองฝั่ง และชั้นล่างมีถนนอีกสามเลนทั้งสองฝั่ง รวมแล้วจึงมีถนนสัญจร 14 เลน กำหนดความเร็วบนสะพานอยู่ที่ 70 กิโลเมตร/ชั่วโมง แม้ความแออัดจะทำให้การจราจรเป็นไปอย่างเชื่องช้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งชั่วโมงเร่งด่วนในตอนเช้าและเย็น มีช่องทางทั้งสองฝากถนนของสะพานชั้นบนให้คนเดินเท้าและจักรยานสัญจรได้ จนถึง พ.ศ.
สนามกีฬาเมตไลฟ์
ระยะทาง: ประมาณ 7524 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.81361111,-74.07444444
เมทไลฟ์ ลเตเดียม (อังกฤษ: MetLife Stadium) เป็นสนามกีฬาในนิวยอร์กเมโตรโพลิตานแอเรีย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเมียดโดว์แลนด์สปอร์ตคอมเพล็ค ซึ่งอยู่ในเมืองรัตเธอร์ฟอร์ดตะวันออก,รัฐนิวเจอร์ซีย์ เปิดทำการตั้งแต่วันที่ 10 เมษายน ค.ศ. 2010 เป็นสนามกีฬาหลักของทีมนิวยอร์ก ไจแอนส์ และนิวยอร์ก เจ็ตซึ่งเป็นทีมอเมริกันฟุตบอลของเอ็นเอฟแอล และตั้งอยู่ติดกับสถานเดิมของไจแอนต์สเตเดียม ทีมนิวยอร์ก ไจแอนส์ได้เป็นสนามกีฬาหลักของสนามแห่งนี้ ในช่วงปี ค.ศ. 1976 จนถึงธันวาคม ค.ศ.
ไอซอด เซ็นเตอร์
ระยะทาง: ประมาณ 7149 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.81166667,-74.0675
ไอซอด เซ็นเตอร์ (อังกฤษ: Izod Center) เป็นสนามกีฬาและศูนย์จัดแสดงนิทรรศการ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเมียดโดว์แลนด์สปอร์ตคอมเพล็คตั้งอยู่ใน อีสต์รัทเธอร์ฟอร์ด, รัฐนิวเจอร์ซีย์ สนามนี้เปิดทำการครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม ค.ศ. 1981 แต่เดิมเคยใช้ชื่อว่า Brendan Byrne Arena เมื่อปี ค.ศ. 1981 จนถึงปี ค.ศ.
วัน 57
ระยะทาง: ประมาณ 9346 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.76544,-73.97907
อาคารวัน 57 (อังกฤษ: One57) หรือที่เคยรู้จักในชื่อ "คาร์เนกี 57" คือ ตึกระฟ้าสูง 75 ชั้น ที่กำลังดำเนินการก่อสร้างในปัจจุบัน ตั้งอยู่เลขที่ 175 ถนนเวสต์ 57 ในมิดทาวน์ เกาะแมนแฮตตัน นครนิวยอร์ก โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2557 ด้วยความสูง 306 เมตร (1,004 ฟุต) ซึ่งจะกลายเป็นอาคารที่พักอาศัยที่สูงที่สุดในเมือง อย่างไรก็ตามโครงการนี้จะถูกไล่ทันโดยอาคาร "432 พาร์ก อเวนิว" ที่จะเสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ.
เซ็นทรัลพาร์กทาวเวอร์
ระยะทาง: ประมาณ 9225 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.7663,-73.981
เซ็นทรัลพาร์กทาวเวอร์ (อังกฤษ: Central Park Tower) หรือที่รู้จักในชื่อ Nordstrom Tower เป็นตึกสูงระฟ้าที่ใช้พักอาศัย ตั้งอยู่ที่ 225 เวสต์ 57 สตรีต ในย่านมิดทาวน์แมนแฮตตันของนครนิวยอร์ก ริมบิลเลียนแนส์โรว์ ออกแบบโดย Adrian Smith + Gordon Gill Architecture อาคารสูง 1,550 ฟุต (472 ม.) โดยมี 98 ชั้นเหนือพื้นดินและชั้นใต้ดิน 3 ชั้น แม้ว่าชั้นบนสุดจะมีหมายเลข 136 อาคารเซ็นทรัลพาร์กทาวเวอร์เป็นตึกระฟ้าที่สูงเป็นอันดับสองในสหรัฐและซีกโลกตะวันตก ซึ่งเป็นอาคารที่สูงเป็นอันดับที่ 14 ของโลก อาคารที่อยู่อาศัยที่สูงที่สุดในโลก และอาคารที่สูงที่สุดนอกเอเชียด้วยความสูงของหลังคา
อาคารเลขที่ 111 ถนนที่ 57 ตะวันตก
ระยะทาง: ประมาณ 9428 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.7649,-73.9775
อาคารเลขที่ 111 ถนนที่ 57 ตะวันตก (อังกฤษ: 111 West 57th Street) หรือที่รู้จักในชื่อ สเตนเวย์ทาวเวอร์ (Steinway Tower) เป็นตึกระฟ้าที่พักอาศัยซูเปอร์ทอลในย่านมิดทาวน์แมนแฮตตันของนครนิวยอร์ก พัฒนาโดยเจดีเอส ดิเวลอปเมนต์กรูปและพรอเพอร์ตีมาร์เกตส์กรูป ตั้งอยู่ที่บิลเลียนแนส์โรว์ทางฟากเหนือของถนนที่ 57 ใกล้ซิกซท์อะเวนิว ส่วนหลักของตึกระฟ้าเป็นหอคอยสูง 84 ชั้น 1,428 ฟุต (435 เมตร) ซึ่งออกแบบโดยชอปอาร์คิเทกตส์ และสร้างขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 2010 อาคาร สเตนเวย์บิลดิง (หรือ สเตนเวย์ฮอลล์) ร้านเดิมของสเตนเวย์แอนด์ซันส์ซึ่งมีความสูง 16 ชั้นและได้รับการออกแบบโดยวอร์เรนแอนด์เวตมอร์ในคริสต์ทศวรรษ 1920 ได้รับการเก็บรักษาไว้ที่ฐานของตึกระฟ้านี้
เหตุเพลิงไหม้ห้องสมุดเซมินารีเทววิทยายิว
ระยะทาง: ประมาณ 5107 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.81188889,-73.96063889
เหตุเพลิงไหม้ห้องสมุดเซมินารีเทววิทยายิวถูกพบเมื่อวันจันทร์ที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1966 เวลา 10:15 น. เมื่อพบเห็นควันไฟออกมาจากหน้าต่างบานเล็กด้านบนบานใดบานหนึ่งของหอห้องสมุดเซมินารีเทววิทยายิวที่บรอดเวย์ และถนนเส้นที่ 122 ในมอร์นิงไซด์ไฮส์ แมนแฮตตัน นครนิวยอร์ก หอดังกล่าวที่มีหน้าต่างเล็ก ๆ เพียงไม่กี่บาน เป็นสภาพแวดล้อมที่สมบูรณ์แบบสำหรับการเกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ ที่นั่นไม่มีชั้นใดแยกชั้นหนึ่งออกจากอีกชั้นหนึ่ง โดยมีเพียงหิ้งหนังสือห้องสมุดที่ทำด้วยเหล็กกล้าซึ่งล้อมรอบด้วยทางเดินแคบ ๆ หอนี้เป็นเหมือนเตาอบและไฟก็ลุกลามอย่างรวดเร็ว โดยการดับไฟเป็นเรื่องยากมาก โดยมีเพียงทางเข้าและบันไดทางเดียวจากด้านล่าง รวมทั้งทางเข้าหน้าต่างที่จำกัด อัลเฟรด เอคเตอร์ต ผู้เป็นหัวหน้ากองดับเพลิงได้ส่งบรรดานักผจญเพลิงสวมหน้ากากไปยังชั้นสูงสุดที่สามารถเข้าถึงได้อย่างปลอดภัย ซึ่งนักผจญเพลิงได้เอาผ้าใบคลุมชั้นวางหนังสือให้มากที่สุดเท่าที่จะทําได้ ในขณะที่รถดับเพลิงที่มีตะขอและบันไดยาวได้พ่นน้ำผ่านช่องเปิดที่สูงที่สุดในหอ ซึ่งไหลลงสู่กองไฟเบื้องล่าง ทั้งนี้ เหตุเพลิงไหม้ดังกล่าวได้ถูกประกาศว่าอยู่ภายใต้การควบคุมเมื่อเวลาประมาณ 19:00 น.
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
เมฆเป็นหย่อม ๆ
13 องศาเซลเซียส
12 องศาเซลเซียส
12 องศาเซลเซียส
14 องศาเซลเซียส
1004 hPa
52 %
1004 hPa
1000 hPa
10000 เมตร
6.26 เมตร/วินาที
9.39 เมตร/วินาที
259 ระดับ
62 %