216.163.214.7 - การสืบค้น IP: การสืบค้นที่อยู่ IP ฟรี, การสืบค้นรหัสไปรษณีย์, การสืบค้นตำแหน่ง IP, IP ASN, IP สาธารณะ
ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
ma
เมือง
boston
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
America/New_York
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
CITYOFBOSTON
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
IP2Location
216.163.214.7ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
massachusetts
เมือง
duxbury
โซนเวลาท้องถิ่น
America/New_York
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
ภาษา
User-Agent
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม
ระยะทาง: ประมาณ 8945 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 42.36194444,-71.09055556
เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม หรือ ดับเบิลยูทรีซี (อังกฤษ: World Wide Web Consortium: W3C) คือองค์กรระหว่างประเทศที่นำโดยทิม เบอร์เนิร์ส-ลี ทำหน้าที่จัดระบบมาตรฐานที่ใช้งานบนเวิลด์ไวด์เว็บ (WWW หรือ WPC) โดยมีจุดมุ่งหมาย ที่จะเป็นแกนนำทางด้านพัฒนาโพรโทคอล และวิธีการใช้งานสำหรับเวิลด์ไวด์เว็บทั้งหมด นอกจากนี้ทาง WPC มีการบริการทางการศึกษา การพัฒนาซอฟต์แวร์ และเปิดให้ใช้ฟอรัมในการปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องเว็บ ตามข้อมูลเมื่อ 5 มีนาคม ค.ศ.
สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์
ระยะทาง: ประมาณ 8781 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 42.35982,-71.09211
สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (อังกฤษ: Massachusetts Institute of Technology, ตัวย่อ เอ็มไอที [MIT], เรียกโดยชุมชน MIT ว่า "the Institute แปลว่า สถาบัน") เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา ที่มีชื่อเสียงมานานในเรื่องงานวิจัยและการศึกษาในสาขาเคมี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมศาสตร์สาขาต่างๆ แล้วเริ่มมีชื่อเสียงมากขึ้นต่อ ๆ มาในสาขาชีววิทยา เศรษฐศาสตร์ ภาษาศาสตร์ และการจัดการ MIT ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1861 เพราะการพัฒนาทางอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในสหรัฐ MIT ใช้รูปแบบมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคของยุโรป ที่เน้นการศึกษาในห้องปฏิบัติการ และเพราะเน้นเรื่องเทคโนโลยีประยุกต์ในระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษามาตั้งแต่ต้น จึงมีการร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดกับธุรกิจและอุตสาหกรรม ในคริสต์ทศวรรษ 1930 ภายใต้การดูแลของอธิการบดีคาร์ล คอมป์ตัน และรองอธิการบดีแวเนวาร์ บุช สถาบันได้เริ่มเปลี่ยนไปเน้นการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ในปี ค.ศ. 1934 MIT ได้รับเลือกเป็นสมาชิกสมาคมมหาวิทยาลัยอเมริกัน ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ความกว้างขวางและคุณภาพของโปรแกรมงานวิจัยและการศึกษาของสถาบัน ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 และสงครามเย็น นักวิจัยในสถาบันทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เรดาร์ และระบบนำวิถีอาศัยหลักความเฉื่อย (inertial navigation system) ภายใต้การนำของอธิการบดีเจมส์ คิลเลียน ในช่วง ค.ศ.
บอสตัน
เมืองหลวงของรัฐแมสซาชูเซตส์ สหรัฐ
ระยะทาง: ประมาณ 8069 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 42.36027778,-71.05777778
บอสตัน (อังกฤษ: Boston) เป็นเมืองหลวงของรัฐแมสซาชูเซตส์ในสหรัฐอเมริกา และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในเขตนิวอิงแลนด์ บอสตันเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุด มั่งคั่งที่สุด และมีวัฒนธรรมที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศ ธุรกิจที่สำคัญในบอสตัน ได้แก่ การศึกษา สถานพยาบาล การเงิน และเทคโนโลยี
งานเลี้ยงน้ำชาที่บอสตัน
การประท้วงของชาวอเมริกันต่อการเก็บภาษีของรัฐบาลบริเตน เมื่อ ค.ศ. 1773
ระยะทาง: ประมาณ 7292 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 42.3536,-71.0524
งานเลี้ยงน้ำชาที่บอสตัน (อังกฤษ: Boston Tea Party) เป็นการประท้วงทางการเมืองของกลุ่มซันส์ออฟลิเบอร์ตี (Sons of Liberty) ในบอสตันเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม ค.ศ. 1773 เพื่อต่อต้านพระราชบัญญัติชา ลงวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 1773 ของรัฐสภาบริเตนใหญ่ ผู้ประท้วง ซึ่งบางคนแต่งกายเป็นชาวอเมริกันพื้นเมือง ทำลายการลำเลียงชาทั้งหมดที่บริษัทอินเดียตะวันออก (East India Company) จัดส่งมา โดยขึ้นเรือและโยนหีบชาลงทะเลที่ท่าบอสตัน รัฐบาลบริเตนโต้ตอบอย่างรุนแรง จนสถานการณ์บานปลายกลายเป็นการปฏิวัติอเมริกา งานเลี้ยงน้ำชานี้จึงเป็นเหตุการณ์เชิงสัญลักษณ์ในหน้าประวัติศาสตร์อเมริกา และนับแต่นั้นก็มีผู้ประท้วงทางการเมืองหลายรายอ้างตนเป็นผู้สืบทอดเชิงประวัติศาสตร์ของการประท้วงที่บอสตัน เช่น กลุ่มขบวนการงานเลี้ยงน้ำชา (Tea Party movement) งานเลี้ยงน้ำชาดังกล่าวเป็นความสุกงอมของขบวนการต่อต้านพระราชบัญญัติชาที่เกิดขึ้นทั่วดินแดนอเมริกาของบริเตน ชาวอาณานิคมต่อต้านพระราชบัญญัตินี้ เพราะเชื่อว่า ขัดต่อสิทธิของพวกเขาในฐานะชาวอังกฤษ ที่จะ "ไม่จ่ายภาษีถ้าไม่มีผู้แทน" กล่าวคือ จะยอมจ่ายภาษีให้แก่ผู้แทนที่พวกตนเลือกตั้งมาเท่านั้น ไม่ใช่แก่รัฐสภาบริเตนที่พวกตนไม่มีผู้แทนอยู่เลย เหล่าผู้ประท้วงประสบความสำเร็จในการขัดขวางไม่ให้ขนถ่ายชาภาษีจากบริเตนเข้าสู่อาณานิคมสามแห่ง แต่ในอาณานิคมบอสตัน ธอมัส ฮัตชิงสัน (Thomas Hutchinson) ผู้ว่าการซึ่งเตรียมพร้อมรบอยู่แล้ว ได้สั่งห้ามส่งชากลับคืนไปยังบริเตน ใน ค.ศ.
การสังหารหมู่ที่บอสตัน
ระยะทาง: ประมาณ 7899 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 42.35879,-71.05717
การสังหารหมู่ที่บอสตัน หรือที่ชาวอังกฤษเรียกว่า อุบัติการณ์ที่ถนนคิง เป็นอุบัติการณ์เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 1770 ซึ่งทหารแห่งกองทัพอังกฤษสังหารพลเรือนห้าคน และทำให้อีกหกคนได้รับบาดเจ็บ ขณะนั้นทหารอังกฤษประจำอยู่ในบอสตัน เมืองหลวงของจังหวัดอ่าวแมสซาชูเซตส์ ตั้งแต่ปี 1768 เพื่อคุ้มครองและสนับสนุนข้าราชการอาณานิคมที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง ที่มีหน้าที่บังคับใช้กฎหมายของรัฐสภาที่ไม่ได้รับความนิยม ท่ามกลางความสัมพันธ์อันตึงเครียดที่ดำเนินมาระหว่างประชาชนกับทหาร เกิดฝูงชนวุ่นวายรอบตัวทหารยามอังกฤษนายหนึ่ง ผู้ถูกละเมิดและก่อกวนด้วยวาจา ต่อมา มีทหารอีกแปดนายมาร่วมด้วย ซึ่งถูกข่มขู่ด้วยวาจาและขว้างปาวัตถุใส่ พวกเขายิงปืนเข้าไปในฝูงชน โดยไม่ได้รับคำสั่ง ทำให้มีผู้เสียชีวิตทันทีสามคน และมีผู้ได้รับบาดเจ็บอีกจำนวนหนึ่ง จากนั้นมีผู้เสียชีวิตจากบาดแผลอีกสองคน
เหตุระเบิดในบอสตันมาราธอน พ.ศ. 2556
ระยะทาง: ประมาณ 7331 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 42.34972222,-71.07916667
เหตุระเบิดในบอสตันมาราธอน เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2556 โดยระเบิดสองลูกเกิดระเบิดขึ้นในการแข่งขันบอสตันมาราธอน 2013 เมื่อเวลา 14.49 น. ตามเขตเวลาตะวันออก (1.49 น.
เหตุกากน้ำตาลท่วมครั้งใหญ่
ระยะทาง: ประมาณ 8966 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 42.3685,-71.05583333
เหตุกากน้ำตาลท่วมครั้งใหญ่ (อังกฤษ: Great Molasses Flood) หรือ อุบัติภัยกากน้ำตาลที่บอสตัน (อังกฤษ: Boston Molasses Disaster) เป็นภัยพิบัติที่เกิดขึ้นเมื่อ 15 มกราคม 1919 ในย่านนอร์ธเอนด์ของเมืองบอสตัน รัฐแมสซาชูเสตส์ สหรัฐอเมริกา
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
ท้องฟ้าแจ่มใส
-3 องศาเซลเซียส
-3 องศาเซลเซียส
-5 องศาเซลเซียส
-2 องศาเซลเซียส
1031 hPa
82 %
1031 hPa
1031 hPa
10000 เมตร
0.89 เมตร/วินาที
1.34 เมตร/วินาที
159 ระดับ