210.87.126.15 - การสืบค้น IP: การสืบค้นที่อยู่ IP ฟรี, การสืบค้นรหัสไปรษณีย์, การสืบค้นตำแหน่ง IP, IP ASN, IP สาธารณะ
ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Yangon
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
YAM Success of Myanmar Co., Ltd.
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
IP2Location
210.87.126.15ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
mandalay
เมือง
mandalay
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Rangoon
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
ภาษา
User-Agent
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
พระราชวังมัณฑะเลย์
ระยะทาง: ประมาณ 2396 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 21.99294167,96.09591111
พระราชวังมัณฑะเลย์ (พม่า: မန္တလေး နန်းတော်) เป็นพระราชวังหลวงในประเทศพม่า เป็นพระราชวังสุดท้ายแห่งระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของอาณาจักรพม่า ถูกสร้างโดยพระเจ้ามินดง ระหว่างปี พ.ศ. 2400–2402 หลังการย้ายเมืองหลวงจากอมรปุระมายังมัณฑะเลย์ แผนผังของพระราชวังมัณฑะเลย์ส่วนใหญ่เป็นแบบพระราชวังพม่าโบราณ คือตั้งอยู่ในกำแพงมีป้อมปราการและคูเมืองล้อมรอบ มีพระราชวังอยู่ตรงกลางและหันหน้าไปทางทิศตะวันออก อาคารทั้งหมดในพระราชวังมีความสูงหนึ่งชั้น จำนวนยอดแหลมเหนืออาคารบ่งชี้ถึงความสำคัญของอาคารด้านล่าง พระราชวังมัณฑะเลย์เป็นที่ประทับหลักของพระเจ้ามินดงและพระเจ้าสีป่อ ซึ่งเป็นกษัตริย์สององค์สุดท้ายของพม่า พระราชวังแห่งนี้ได้ยุติการเป็นที่ประทับและที่ทำการเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 ระหว่างสงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่สาม กองทหารของอังกฤษได้เข้ายึดพระราชวังและควบคุมราชวงศ์ อังกฤษเปลี่ยนบริเวณพระราชวังเป็นป้อมดัฟเฟรินซึ่งตั้งชื่อตามผู้สำเร็จราชการอินเดียในขณะนั้น ตลอดยุคอาณานิคมของอังกฤษชาวพม่ามองว่าพระราชวังแห่งนี้เป็นสัญลักษณ์หลักของอธิปไตยและอัตลักษณ์ บริเวณพระราชวังส่วนใหญ่ถูกทำลายในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองโดยการทิ้งระเบิดของฝ่ายสัมพันธมิตร มีเพียงโรงกษาปณ์และหอสังเกตการณ์เท่านั้นที่เหลือรอด พระราชวังจำลองถูกสร้างขึ้นใหม่ในช่วงพ.ศ.
พระมหามัยมุนี
ระยะทาง: ประมาณ 2593 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 21.95186944,96.07861944
พระมหามัยมุนี หรือ มะฮาเมียะมุนิ (พม่า: မဟာမုနိရှင်တော်မြတ်ကြီး) เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของประเทศพม่า และเป็นหนึ่งในห้าศาสนวัตถุที่ศักดิ์สิทธิ์ของพม่า คำว่า มหามัยมุนี แปลว่า "ผู้รู้อันประเสริฐ" (The Great Sage) เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องกษัตริย์ ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่เมืองมัณฑะเลย์ อดีตราชธานีของพม่าในยุคราชวงศ์โก้นบอง เดิมทีเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของยะไข่ มีตำนานเล่าว่าสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยพุทธกาลโดยกษัตริย์แห่งเมืองยะไข่ องค์พระทำจากทองสัมฤทธิ์หนัก 6.5 ตัน มีการสร้างบนฐานสูง 1.84 เมตร (6.0 ฟุต) รวมองค์พระมีความสูงทั้งหมดกว่า 3.82 เมตร (12.5 ฟุต) ไหล่กว้าง 1.84 เมตร (6.0 ฟุต) และรอบเอวกว้าง 2.9 เมตร (9.5 ฟุต) ก่อนสร้างกษัตริย์ผู้สร้างทรงพระสุบินว่า พระพุทธเจ้า เสด็จมาประทานพรให้พระพุทธปฏิมาองค์นี้เป็นตัวแทนของพระองค์ เพื่อเป็นเครื่องสืบพระพุทธศาสนาไปในภายภาคหน้า โดยในอดีตแม้เมืองยะไข่จะถูกโจมตีโดยกษัตริย์เมืองอื่นที่ทรงแสนยานุภาพอย่างไร ก็ไม่อาจที่จะเคลื่อนย้ายองค์พระมหามัยมุนีนี้ออกจากเมืองได้ ต้องมีเหตุให้ขัดข้องทุกครั้งไป จนกระทั่งถึงรัชสมัยพระเจ้าปดุง แห่งราชวงศ์โก้นบองสามารถตียะไข่ได้ และได้อัญเชิญพระมหามัยมุนีออกจากยะไข่ได้ในปี พ.ศ. 2327 โดยล่องมาตามแม่น้ำอิระวดีมายังเมืองมัณฑะเลย์ พระมหามัยมุนีจึงได้มาประดิษฐานอยู่ที่เมืองมัณฑเลย์เป็นการถาวรนับแต่นั้นเป็นต้นมา ด้วยความเชื่อว่าพระพุทธมหามัยมุนีเป็นพระพุทธรูปที่มีชีวิต ด้วยเหตุที่ได้รับประทานพร หรือบางตำนานก็กล่าวว่าได้รับประทานลมหายใจจากพระพุทธเจ้า จึงมีประเพณีล้างพระพักตร์ถวายโดยทุกเช้าในเวลาประมาณ 04.00 น. พระมหาเถระและสาธุชนทั่วไปที่ศรัทธาจะมาทำพิธีล้างพระพักตร์ด้วยน้ำอบน้ำหอมผสมทานาคาอย่างดี พร้อมกับใช้แปรงทองแปรงที่พระโอษฐ์เสมือนหนึ่งแปรงพระทนต์ถวายพระพุทธเจ้า ก่อนใช้ผ้าจากศรัทธาสาธุชนที่ถวายมาเช็ดจนแห้งสนิท แล้วนำกลับคืนแก่สาธุชนผู้นั้นไปบูชาต่อ พร้อมใช้พัดทองโบกถวายเป็นอันดี เสมือนหนึ่งได้อุปัฏฐากองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ยังทรงพระชนมชีพอยู่ อนึ่ง องค์พระมหามัยมุนีมีการปิดทองซ้ำแล้วซ้ำอีกจนเป็นรอยย่นตะปุ่มตะป่ำไปทัวทั้งองค์ ซึ่งหากเอานิ้วกดลงไปจะรู้สึกได้ถึงความอ่อนนิ่มของทองคำเปลวที่ปิดทับซ้อนกันนับเป็นพัน ๆ หมื่น ๆ ชั้น ตลอดระยะเวลาเนิ่นนานหลายศตวรรษ ทำให้พระมหามัยมุนีมีอีกพระนามหนึ่งว่า "พระเนื้อนิ่ม" แต่น่าแปลกที่ว่าแม้จะมีการปิดทองซ้ำแล้วซ้ำอีกจนองค์พระใหญ่ขึ้นเพียงใดก็ตาม แต่พระพักตร์ขององค์พระมหามัยมุนีก็ยังแลดูใหญ่ตามองค์พระอย่างน่าอัศจรรย์ ทั้งที่ไม่ได้มีการปิดทองที่องค์พระพักตร์เลยแม้แต่น้อย ในประเทศไทย ที่วัดหัวเวียง อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้มีองค์พระจำลองของพระมหามัยมุนีนี้เป็นพระประธานของวัด ในบรรดาพระมหามัยมุนีจำลองในประเทศไทย พระเจ้าพาราละแข่งถือเป็นองค์ที่เก่าที่สุด เพราะสร้างขึ้นใน พ.ศ.
มัณฑะเลย์
ระยะทาง: ประมาณ 934 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 21.98305556,96.08444444
มัณฑะเลย์ หรือ มานดะเล (พม่า: မန္တလေး, ออกเสียง: [máɰ̃.də.lé]) เป็นอดีตเมืองหลวง และเมืองใหญ่อันดับที่สองของพม่ารองจากนครย่างกุ้ง ตั้งอยู่ในภาคมัณฑะเลย์ ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำอิรวดี ห่างจากย่างกุ้งไปทางทิศเหนือ 716 กิโลเมตร ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1857 โดยพระเจ้ามินดง โดยตั้งชื่อตามภูเขามัณฑะเลย์ที่อยู่ใกล้เคียงซึ่งมีความสูง 775 ฟุต มัณฑะเลย์เป็นเมืองศูนย์กลางการค้าทางตอนเหนือของพม่า และถือเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศรองจากย่างกุ้ง นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญบนเส้นทางการค้าระหว่างอินเดียกับจีน และรัฐบาลพม่ายังให้ความสำคัญโดยตั้งนิคมอุตสาหกรรมขึ้นในปี พ.ศ.
ดินแดนสหภาพเนปยีดอ
ระยะทาง: ประมาณ 895 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 21.96666667,96.08333333
เนปยีดอ (พม่า: နေပြည်တော်) เป็นเขตการปกครองในภาคกลางของประเทศพม่า มีเมืองหลักคือเนปยีดอซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศด้วย
สนามกีฬามานดะลาตีริ
ระยะทาง: ประมาณ 3803 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 21.94355556,96.09875
สนามกีฬามานดะลาตีริ (อังกฤษ: Mandalarthiri Stadium; พม่า: မန္တလာသီရိ အားကစားကွင်း) เป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์ ตั้งอยู่ในเมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า เคยใช้จัดการแข่งขันฟุตบอลหญิงในซีเกมส์ 2013 และยังเป็นที่ตั้งของสโมสรฟุตบอลยะดะนาโบน
อารามชเวน่านดอ
ระยะทาง: ประมาณ 4246 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 22.000675,96.11372222
อารามชเวน่านดอ (พม่า: ရွှေနန်းတော်ကျောင်း; เอ็มแอลซีทีเอส: hrwe. nan: taw kyaung:, ออกเสียง: [ʃwè.náɰ̃.dɔ̀ t͡ɕáʊ̯ɰ̃]; หมายถึง "อารามพระตำหนักทองคำ") เป็นวัดพุทธเก่าแก่ตั้งอยู่ใกล้เขามัณฑะเลย์ ภาคมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า อารามชเวน่านดอสร้างขึ้นใน พ.ศ. 2421 โดยพระเจ้าสีป่อ ซึ่งรื้อถอนและย้ายพระตำหนักของพระเจ้ามินดง พระราชบิดาซึ่งครอบครองก่อนสวรรคต โดยมีค่าใช้จ่าย 120,000 รูปี พระเจ้าสีป่อได้รื้อพระตำหนักออกเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ.
เจดีย์ซานดามุนิ
ระยะทาง: ประมาณ 4189 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 22.00347,96.109758
เจดีย์ซานดามุนิ (พม่า: စန္ဒာမုနိစေတီ; จากชื่อเต็ม နန်းမြေဘုံသာစံနန်းတော်ရာစန္ဒာမုနိဘုရား) เป็นเจดีย์พุทธตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเขามัณฑะเลย์ สร้างขึ้นโดยพระเจ้ามินดงใน พ.ศ. 2417 เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่เจ้าชายกะนองพระอนุชาของพระองค์ ซึ่งถูกลอบปลงพระชนม์พร้อมกับพระราชโอรสสามองค์ ในการกบฏของเจ้าชายมยิ่นกุน พ.ศ. 2409 เจดีย์ได้รับการสร้างขึ้น ณ ตำแหน่งชั่วคราวของพระราชวังน่าน-มเยโบนตา (နန်းမြေဘုံသာ) เจดีย์แห่งนี้เป็นที่ฝังพระศพเจ้าชายคะนองพร้อมกับพระราชโอรส 3 องค์ นอกจากนี้ยังมีพระพุทธรูปเหล็กซึ่งหล่อโดยพระเจ้าปดุงเมื่อ พ.ศ.
เจดีย์กุโตดอ
ระยะทาง: ประมาณ 4507 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 22.004712,96.112902
เจดีย์กุโตดอ (พม่า: ကုသိုလ်တော်ဘုရား, ออกเสียง: [kṵðòdɔ̀ pʰəjá]; หมายถึง พระราชกุศล ชื่อเป็นทางการคือ มะฮาโลกะมาระซีนเจดี မဟာလောကမာရဇိန်စေတီ) เป็นเจดีย์พุทธตั้งอยู่เชิงเขามัณฑะเลย์ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า ซึ่งมีหนังสือเล่มใหญ่ที่สุดในโลก สร้างขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้ามินดง ตัวเจดีย์ซึ่งปิดทองเหนือฐาน มีความสูง 57 เมตร (187 ฟุต) จำลองตามเจดีย์ชเวซี่โกน เมืองญองอู้ ใกล้พุกาม บริเวณรอบเจดีย์มีซุ้มขนาดเล็กประดิษฐานหินจารึก 729 แผ่น แต่ละแผ่นจารึกไว้ทั้งสองด้าน มีเนื้อหาเกี่ยวกับพระไตรปิฎกภาษาบาลีของศาสนาพุทธนิกายเถรวาท
อารามชเวอีนบีน
ระยะทาง: ประมาณ 2049 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 21.96628,96.065954
อารามชเวอีนบีน (พม่า: ရွှေအင်ပင်ကျောင်း) เป็นวัดพุทธเก่าแก่ในเมืองมัณฑะเลย์ ภาคมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า สร้างขึ้นจากไม้สักตามสถาปัตยกรรมพม่าแบบดั้งเดิม วัดแห่งนี้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.
อารามซะลี่น
ระยะทาง: ประมาณ 4182 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 22.00847254,96.10135158
อารามซะลี่น (พม่า: စလင်းကျောင်း) เป็นวัดพุทธเก่าแก่ในเมืองมัณฑะเลย์ ภาคมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า ซึ่งมีชื่อเสียงจากงานไม้แกะสลักพื้นเมือง
อารามยอมี่นจี้
ระยะทาง: ประมาณ 4731 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 22.015568,96.09617
อารามยอมี่นจี้ (พม่า: ယောမင်းကြီးအုတ်ကျောင်း) เป็นวัดพุทธตั้งอยู่ภาคมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า สร้างขึ้นในปี พ.ศ.
อารามอะตุมะชิ
ระยะทาง: ประมาณ 4167 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 22.00083333,96.1125
อารามอะตุมะชิ (พม่า: အတုမရှိကျောင်း, [ʔətṵməʃḭ tɕáʊɰ̃]; ชื่อทางการ มะฮา อะตุละเวยาน จ้องดอจี้ (พม่า: မဟာ အတုလဝေယန် ကျောင်းတော်ကြီး, [məhà ʔətṵla̰ wèjàɰ̃ tɕáʊɰ̃dɔ̀dʑí]) เป็นวัดพุทธในเมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
เมฆกระจาย
21 องศาเซลเซียส
21 องศาเซลเซียส
21 องศาเซลเซียส
21 องศาเซลเซียส
1015 hPa
64 %
1015 hPa
1001 hPa
10000 เมตร
0.73 เมตร/วินาที
0.74 เมตร/วินาที
248 ระดับ
48 %