ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
ny
เมือง
newyork
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
America/New_York
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
AMC
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
เซ็นทรัลพาร์ก
สวนสาธารณะในนครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา
ระยะทาง: ประมาณ 1943 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.78222222,-73.96527778
เซ็นทรัลพาร์ก (อังกฤษ: Central Park) เป็นสวนสาธารณะระดับเมือง ตั้งอยู่ระหว่างย่านอัปเปอร์เวสต์ไซด์และอัปเปอร์อีสต์ไซด์ของเขตแมนแฮตตันในนครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เป็นสวนสาธารณะที่มีการออกแบบภูมิทัศน์แห่งแรกในประเทศ เป็นสวนสาธารณะที่ใหญ่ที่สุดในเมืองอันดับที่ 6 ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ 843 เอเคอร์ (341 เฮกตาร์) และเป็นสวนสาธารณะในเมืองที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในสหรัฐ โดยมีผู้เข้าชมประมาณ 42 ล้านคนต่อปี ณ ปี 2016
แมนแฮตตัน
เขตและเทศมณฑลในนครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา
ระยะทาง: ประมาณ 1923 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.78333333,-73.96666667
แมนแฮตตัน (อังกฤษ: Manhattan) เป็นหนึ่งใน 5 เขตการปกครองท้องถิ่นของนครนิวยอร์ก ตั้งอยู่บนเกาะแมนแฮตตันที่ปากแม่น้ำฮัดสัน ประกอบไปด้วยเกาะแมนแฮตตันและเกาะเล็ก ๆ ที่อยู่ติดกัน คือ เกาะโรสเวลต์ (Roosevelt Island), เกาะแรนดัลส์ (Randall's Island), เกาะวาร์ด (Wards Island), เกาะกอฟเวิร์นเนอส์ (Governors Island), เกาะลิเบอร์ตี (Liberty Island), เกาะเอลลิส, เกาะอูตัน (U Thant Island) รวมถึงมาร์เบิลฮิลล์ แมนแฮตตันมีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับ 3 จาก 5 เขตการปกครองท้องถิ่นของนครนิวยอร์ก นครนิวยอร์กส่วนดั้งเดิมนั้นมีจุดเริ่มต้นจากส่วนล่างของแมนแฮตตัน จากนั้นในปี ค.ศ. 1898 (พ.ศ. 2441) เมืองก็ขยายตัวขึ้น ถึงแม้ว่าแมนแฮตตันจะเป็นส่วนที่เล็กมากที่สุด แต่ก็เป็นส่วนที่มีความเจริญมากที่สุด บริเวณนครนิวยอร์กเป็นหนึ่งในบริเวณที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในสหรัฐอเมริกา และหนาแน่นสุดในโลกแห่งหนึ่ง ด้วยจำนวนประชากร 1,634,795 คน ในปี ค.ศ.2008 (พ.ศ.
มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย
ระยะทาง: ประมาณ 1554 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.8075,-73.96194444
มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย (Columbia University in the City of New York) เป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยในกลุ่มไอวีลีก ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงของโลกแห่งหนึ่ง เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของนครนิวยอร์กและเก่าแก่ที่สุดอันดับที่ห้าของสหรัฐอเมริกา ตั้งอยู่ที่นิวยอร์กซิตี ในรัฐนิวยอร์กในส่วนของชุมชนมอร์นิงไซด์บริเวณส่วนเหนือของเกาะแมนแฮตตัน ก่อตั้งก่อนการประกาศอิสรภาพของประเทศในปี พ.ศ. 2297 (ค.ศ. 1754) ในชื่อของ วิทยาลัยคิงส์ (King's College) โดยได้รับเงินสนับสนุนจากสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 2 แห่งอังกฤษ ภายหลังสหรัฐอเมริกาปฏิวัติ โคลัมเบียได้รับการสนับสนุนในฐานะเอกลักษณ์ทางปรัชญาของรัฐตั้งแต่ปี 2327 - 2330 ผู้ได้รับรางวัลโนเบล ทั้งที่เป็นศิษย์เก่าและคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยทั้งสิ้น 102 ท่าน ถือว่ามากที่สุดอันดับ 2 ของโลก ศิษย์เก่าที่เป็นประธานาธิบดีและนากยกรัฐมนตรีจากทั่วโลกจำนวน 29 ท่าน ศิษย์เก่าที่ดำรงตำแหน่ง CEO ของบริษัทยักษ์ใหญ่ของโลก (Fortune Global 500) จำนวน 45 ท่าน และมีผู้ชนะรางวัลออสการ์ 28 ท่าน นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังเป็นผู้มอบรางวัลพูลิตเซอร์ แก่ผู้ได้รับเกียรติสูงสุดระดับชาติในวงการสิ่งพิมพ์ การบรรลุความสำเร็จทางวรรณกรรม และการประพันธ์เพลงในสาขาวารสารศาสตร์ เมื่อกว่า 100 ปีมาแล้ว ซึ่งวิทยาลัยวิชาการหนังสือพิมพ์ของโคลัมเบียนับได้ว่าโดดเด่นมากที่สุดของโลกในปัจจุบัน โคลัมเบียได้รับความนิยมจากผู้นำประเทศต่างๆ รวมทั้งผู้นำของสหรัฐอเมริกาอย่าง ทีโอดอร์ รูสเวลต์และแฟรงกลิน ดี.
A Great Day in Harlem
ระยะทาง: ประมาณ 1480 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.806874,-73.941005
อะเกรตเดย์อินฮาร์เล็ม หรือ ฮาร์เล็ม 1958 เป็นชื่อของภาพถ่ายขาวดำของกลุ่มนักดนตรีแจ๊สจำนวน 57 คน ที่ถ่ายเมื่อปี ค.ศ. 1958 บริเวณริมถนน หน้าอาคารแห่งหนึ่งในย่านฮาร์เล็ม มหานครนิวยอร์ก ภาพหมู่นี้ถ่ายโดยอาร์ต เคน ช่างภาพอิสระของนิตยสารเอสไควร์ เมื่อเวลาประมาณ 10 นาฬิกา ของวันหนึ่งกลางฤดูร้อนของปี 1958 บริเวณหน้าบ้านเลขที่ 17 ถนนสายที่ 126 (อยู่ระหว่างฟิฟต์แอฟวะนิว และเมดิสันแอฟวะนิว) ในย่านฮาร์เล็มตะวันออก พิมพ์ครั้งแรกในนิตยสารเอสไควร์ ฉบับเดือนมกราคม ค.ศ. 1959 และกลายเป็นภาพถ่ายที่มีชื่อเสียง ในปี ค.ศ.
วัน 57
ระยะทาง: ประมาณ 4139 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.76544,-73.97907
อาคารวัน 57 (อังกฤษ: One57) หรือที่เคยรู้จักในชื่อ "คาร์เนกี 57" คือ ตึกระฟ้าสูง 75 ชั้น ที่กำลังดำเนินการก่อสร้างในปัจจุบัน ตั้งอยู่เลขที่ 175 ถนนเวสต์ 57 ในมิดทาวน์ เกาะแมนแฮตตัน นครนิวยอร์ก โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2557 ด้วยความสูง 306 เมตร (1,004 ฟุต) ซึ่งจะกลายเป็นอาคารที่พักอาศัยที่สูงที่สุดในเมือง อย่างไรก็ตามโครงการนี้จะถูกไล่ทันโดยอาคาร "432 พาร์ก อเวนิว" ที่จะเสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ.
432 พาร์กแอเวนู
ระยะทาง: ประมาณ 4242 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.7612,-73.9715
432 พาร์กแอเวนู (อังกฤษ: 432 Park Avenue) คือโครงการตึกระฟ้าที่พักอาศัยโดยกลุ่ม CIM ในมิดทาวน์ แมนแฮตตัน นครนิวยอร์ก อาคารแห่งนี้ประกอบด้วยอะพาร์ตเมนต์ คอนโดมิเนียม ที่ความสูง 426.11 เมตร (1,398 ฟุต) ซึ่งจะกลายเป็นตึกที่สูงที่สุดอันดับ 3 ของสหรัฐอเมริกา และหนึ่งในตึกที่พักอาศัยที่สูงที่สุดในโลก และเป็นตึกที่สูงอันดับ 2 ในนครนิวยอร์ก รองจากวันเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ อย่างไรก็ตามเมื่อวัดความสูงจากหลังคา ตึก 432 พาร์กแอเวนูจะเป็นตึกที่สูงที่สุดในนิวยอร์ก โดยสูงกว่าวันเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ประมาณ 9.1 เมตร (30 ฟุต) อาคารมีการวางแผนแต่เดิมที่ความสูง 396 เมตร (1,300 ฟุต) ใน พ.ศ. 2554 การก่อสร้างเริ่มใน พ.ศ. 2555 และจะเสร็จสมบูรณ์ใน พ.ศ.
ทรัมป์ทาวเวอร์
ระยะทาง: ประมาณ 4194 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.7625,-73.9738
ทรัมป์ทาวเวอร์ (อังกฤษ: Trump Tower) เป็นตึกระฟ้าที่มีจำนวน 58 ชั้น ความสูง 664 ฟุต (220 เมตร) ที่มีการใช้งานหลากหลายรูปแบบตั้งอยู่ที่ 721–725 Fifth Avenue ระหว่างถนนที่ 56 และ 57 ในมิดทาวน์แมนแฮตตัน, นครนิวยอร์ก โดยทำหน้าที่เป็นสำนักงานใหญ่ของเดอะทรัมป์ ออร์แกไนเซชั่น นอกจากนี้ยังเป็นที่อยู่อาศัยแบบเพนต์เฮาส์ คอนโดมิเนียม ของผู้พัฒนาอาคาร โดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐ คนที่ 45 ผู้ซึ่งเป็นนักธุรกิจและนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในขณะที่หอคอยได้รับการพัฒนาขึ้น มีสมาชิกของครอบครัวทรัมพ์หลายคนยังอาศัยอยู่ในอาคารด้วย หอคอยตั้งอยู่บนพล็อตที่เคยเป็นที่ตั้งของห้างสรรพสินค้าชั้นนำ Bonwit Teller ผู้ออกแบบอาคารนี้ คือ เดอร์ สคัตต์ ของ Der Scutt of Poor, Swanke, Hayden & Connell และพัฒนาโดย Trump และ Equitable Life Assurance Company (ปัจจุบันเปลียนชื่อเป็น AXA Equitable Life Insurance Company ในปี ค.ศ.
เกาะรูสเวลต์
ระยะทาง: ประมาณ 3798 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.762,-73.95
เกาะรูสเวลต์ (อังกฤษ: Roosevelt Island) เป็นเกาะแคบ ๆ ในทางน้ำอีสต์ริเวอร์ นครนิวยอร์ก ตั้งอยู่ระหว่างเกาะแมนแฮตตันทางทิศตะวันตกกับโบโรฮ์ ควีนส์บนเกาะลองไอแลนด์ทางทิศตะวันออก เกาะอยู่ในเขตการปกครองของแมนแฮตตัน และนิวยอร์กเคาน์ตี เกาะวิ่งเลียบไปกับถนนอีสต์สายที่ 46 ถึง ถนนสายที่ 85 บนเกาะแมนแฮตตัน เกาะมีความยาว 2 ไมล์ (3.2 กิโลเมตร) โดยมีความกว้างมากสุด 800 ฟุต (240 เมตร) และมีพื้นที่รวม 147 เอเคอร์ (0.59 ตารางกิโลเมตร) เกาะมีประชากร 11,661 คน จากการสำรวจสำมะโนประชากรปี 2010
เซ็นทรัลพาร์กทาวเวอร์
ระยะทาง: ประมาณ 4156 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.7663,-73.981
เซ็นทรัลพาร์กทาวเวอร์ (อังกฤษ: Central Park Tower) หรือที่รู้จักในชื่อ Nordstrom Tower เป็นตึกสูงระฟ้าที่ใช้พักอาศัย ตั้งอยู่ที่ 225 เวสต์ 57 สตรีต ในย่านมิดทาวน์แมนแฮตตันของนครนิวยอร์ก ริมบิลเลียนแนส์โรว์ ออกแบบโดย Adrian Smith + Gordon Gill Architecture อาคารสูง 1,550 ฟุต (472 ม.) โดยมี 98 ชั้นเหนือพื้นดินและชั้นใต้ดิน 3 ชั้น แม้ว่าชั้นบนสุดจะมีหมายเลข 136 อาคารเซ็นทรัลพาร์กทาวเวอร์เป็นตึกระฟ้าที่สูงเป็นอันดับสองในสหรัฐและซีกโลกตะวันตก ซึ่งเป็นอาคารที่สูงเป็นอันดับที่ 14 ของโลก อาคารที่อยู่อาศัยที่สูงที่สุดในโลก และอาคารที่สูงที่สุดนอกเอเชียด้วยความสูงของหลังคา
บิลเลียนแนส์โรว์ (แมนแฮตตัน)
ระยะทาง: ประมาณ 4150 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.7644,-73.9772
บิลเลียนแนส์โรว์ (อังกฤษ: Billionaires' Row) เป็นกลุ่มของตึกระฟ้าที่เป็นอาคารที่พักอาศัยที่หรูหราเป็นพิเศษ ซึ่งสร้างหรืออยู่ในระหว่างการพัฒนา โดยจัดเรียงไว้อย่างคร่าว ๆ ทางตอนใต้สุดของเซ็นทรัลพาร์กในแมนแฮตตัน นครนิวยอร์ก อาคารเหล่านี้หลายหลังอยู่ในประเภทซูเปอร์ทอล ซึ่งสูงกว่า 1,000 ฟุต (300 เมตร) และเป็นหนึ่งในอาคารที่สูงที่สุดในโลก เนื่องจากหอคอยดินสอเหล่านี้ส่วนใหญ่สร้างหรือมีแผนที่ตั้งอยู่บนถนนที่ 57 จึงมีการใช้คำนี้เพื่ออ้างถึงถนนเส้นนี้ด้วยเช่นกัน
อาคารเลขที่ 111 ถนนที่ 57 ตะวันตก
ระยะทาง: ประมาณ 4116 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.7649,-73.9775
อาคารเลขที่ 111 ถนนที่ 57 ตะวันตก (อังกฤษ: 111 West 57th Street) หรือที่รู้จักในชื่อ สเตนเวย์ทาวเวอร์ (Steinway Tower) เป็นตึกระฟ้าที่พักอาศัยซูเปอร์ทอลในย่านมิดทาวน์แมนแฮตตันของนครนิวยอร์ก พัฒนาโดยเจดีเอส ดิเวลอปเมนต์กรูปและพรอเพอร์ตีมาร์เกตส์กรูป ตั้งอยู่ที่บิลเลียนแนส์โรว์ทางฟากเหนือของถนนที่ 57 ใกล้ซิกซท์อะเวนิว ส่วนหลักของตึกระฟ้าเป็นหอคอยสูง 84 ชั้น 1,428 ฟุต (435 เมตร) ซึ่งออกแบบโดยชอปอาร์คิเทกตส์ และสร้างขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 2010 อาคาร สเตนเวย์บิลดิง (หรือ สเตนเวย์ฮอลล์) ร้านเดิมของสเตนเวย์แอนด์ซันส์ซึ่งมีความสูง 16 ชั้นและได้รับการออกแบบโดยวอร์เรนแอนด์เวตมอร์ในคริสต์ทศวรรษ 1920 ได้รับการเก็บรักษาไว้ที่ฐานของตึกระฟ้านี้
เหตุเพลิงไหม้ห้องสมุดเซมินารีเทววิทยายิว
ระยะทาง: ประมาณ 1926 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 40.81188889,-73.96063889
เหตุเพลิงไหม้ห้องสมุดเซมินารีเทววิทยายิวถูกพบเมื่อวันจันทร์ที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1966 เวลา 10:15 น. เมื่อพบเห็นควันไฟออกมาจากหน้าต่างบานเล็กด้านบนบานใดบานหนึ่งของหอห้องสมุดเซมินารีเทววิทยายิวที่บรอดเวย์ และถนนเส้นที่ 122 ในมอร์นิงไซด์ไฮส์ แมนแฮตตัน นครนิวยอร์ก หอดังกล่าวที่มีหน้าต่างเล็ก ๆ เพียงไม่กี่บาน เป็นสภาพแวดล้อมที่สมบูรณ์แบบสำหรับการเกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่ ที่นั่นไม่มีชั้นใดแยกชั้นหนึ่งออกจากอีกชั้นหนึ่ง โดยมีเพียงหิ้งหนังสือห้องสมุดที่ทำด้วยเหล็กกล้าซึ่งล้อมรอบด้วยทางเดินแคบ ๆ หอนี้เป็นเหมือนเตาอบและไฟก็ลุกลามอย่างรวดเร็ว โดยการดับไฟเป็นเรื่องยากมาก โดยมีเพียงทางเข้าและบันไดทางเดียวจากด้านล่าง รวมทั้งทางเข้าหน้าต่างที่จำกัด อัลเฟรด เอคเตอร์ต ผู้เป็นหัวหน้ากองดับเพลิงได้ส่งบรรดานักผจญเพลิงสวมหน้ากากไปยังชั้นสูงสุดที่สามารถเข้าถึงได้อย่างปลอดภัย ซึ่งนักผจญเพลิงได้เอาผ้าใบคลุมชั้นวางหนังสือให้มากที่สุดเท่าที่จะทําได้ ในขณะที่รถดับเพลิงที่มีตะขอและบันไดยาวได้พ่นน้ำผ่านช่องเปิดที่สูงที่สุดในหอ ซึ่งไหลลงสู่กองไฟเบื้องล่าง ทั้งนี้ เหตุเพลิงไหม้ดังกล่าวได้ถูกประกาศว่าอยู่ภายใต้การควบคุมเมื่อเวลาประมาณ 19:00 น.
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
ท้องฟ้าแจ่มใส
12 องศาเซลเซียส
10 องศาเซลเซียส
11 องศาเซลเซียส
14 องศาเซลเซียส
1010 hPa
45 %
1010 hPa
1010 hPa
10000 เมตร
4.12 เมตร/วินาที
310 ระดับ
06:43:30
16:37:44