ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Bangkok
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
T.C.C. Technology Co., Ltd.
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
ถนนตะนาว
ระยะทาง: ประมาณ 330 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.755692,100.499014
ถนนตะนาว (อักษรโรมัน: Thanon Tanao) เป็นถนนในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนบำรุงเมืองที่สี่กั๊กเสาชิงช้า ตรงไปทางทิศเหนือ เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงศาลเจ้าพ่อเสือกับแขวงเสาชิงช้า ข้ามคลองหลอดวัดราชนัดดาเข้าสู่ท้องที่แขวงบวรนิเวศ จากนั้นตัดข้ามถนนราชดำเนินกลางที่ทางแยกคอกวัว และเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงบวรนิเวศกับแขวงตลาดยอด จนไปจรดแยกที่ถนนบวรนิเวศน์ ถนนสิบสามห้าง และถนนตานีบรรจบกัน แต่เดิมถนนตะนาวเป็นส่วนหนึ่งของถนนเฟื่องนครซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.
ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)
ระยะทาง: ประมาณ 196 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.757099,100.500388
ถนนราชดำเนิน เป็นถนนสายประวัติศาสตร์สำคัญแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ตัดผ่านพื้นที่เขตพระนคร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตดุสิต เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. 2442 และแล้วเสร็จทั้งสายเมื่อ พ.ศ.
ถนนมหาไชย
ระยะทาง: ประมาณ 289 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.754569,100.503996
ถนนมหาไชย (อักษรโรมัน: Thanon Maha Chai) เป็นถนนสายหนึ่งในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนราชดำเนินกลางที่สี่แยกป้อมมหากาฬ ในท้องที่แขวงวัดบวรนิเวศ ไปทางทิศใต้ ข้ามคลองหลอดวัดราชนัดดาเข้าสู่ท้องที่แขวงสำราญราษฎร์ ผ่านวัดเทพธิดาราม ตัดกับถนนบำรุงเมือง (สี่แยกสำราญราษฎร์) และถนนหลวง (สามแยกเรือนจำ) ข้ามคลองหลอดวัดราชบพิธเข้าสู่ท้องที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ ตัดกับถนนเจริญกรุง (สี่แยกสามยอด) จนกระทั่งไปบรรจบกับถนนพีระพงษ์ ถนนเยาวราช และถนนจักรเพชร (สี่แยกวังบูรพา)
โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร
ระยะทาง: ประมาณ 324 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.754793,100.504568
โลหะปราสาท เป็นโลหะปราสาทองค์แรกและองค์เดียวของไทย และถือเป็นองค์ที่ 3 ของโลก สร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งอยู่ในพื้นที่วัดราชนัดดารามวรวิหาร และอยู่ในบริเวณลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ ยอดปราสาทประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ โลหะปราสาท ได้รับการปรับปรุงหลายครั้ง ภายหลังก่อสร้างขึ้นตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ภายหลังพระองค์สวรรคตลง โลหะปราสาทก็มิได้ปรับปรุงแล้วเสร็จ จนกระทั่งได้บูรณะครั้งใหญ่จนแล้วเสร็จในสมัยพระราชปัญญาโสภณ (สุข ปุญญรํสี) ปี พ.ศ. 2506 โดยมีจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้ร่วมกันปรับปรุงแล้วเสร็จ เป็นแบบก่อโบกปูนสีแดง มณฑปทาสีขาว ในปี พ.ศ. 2539 พล.อ.ต.อาวุธ เงินชูกลิ่น ศิลปินแห่งชาติสาขาสถาปัตยกรรม (ในเวลาต่อมา) ได้ออกแบบวัสดุมุงและเครื่องประดับหลังคาเป็นโลหะและทองแดงรมดำ ทำให้ออกมาเป็นสีดำ และในปี พ.ศ.
อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย
อนุสาวรีย์กลางวงเวียนในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
ระยะทาง: ประมาณ 54 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.75666667,100.50166667
อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นอนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่กึ่งกลางวงเวียนระหว่างถนนราชดำเนินกลางกับถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงการเปลี่ยนแปลงการปกครองของสยามจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย นอกจากนี้อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเป็นหลักกิโลเมตรศูนย์ ที่ซึ่งเป็นอ้างอิงในการวัดระยะทางจากกรุงเทพมหานคร อนุสาวรีย์ก่อสร้างและออกแบบโดยหม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล และมีศิลป์ พีระศรีร่วมกับสิทธิเดช แสงหิรัญ เป็นศิลปินผู้ปั้นอนุสาวรีย์ อนุสาวรีย์ประกอบด้วย "ปีก" จำนวน 4 ปีก รายล้อมประติมากรรมแสดงพานแว่นฟ้าวางรัฐธรรมนูญที่ซึ่งจำลองจากขณะการทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวลงพระปรมาภิไธยเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกแห่งราชอาณาจักรไทย องค์ประกอบต่าง ๆ ของอนุสาวรีย์เป็นตัวแทนทางสัญลักษณ์ถึงหลักการและอุดมการณ์ประชาธิปไตยของคณะราษฎรและถึงเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง อนุสาวรีย์ประกอบพิธีเปิดในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483 ซึ่งเป็นวันครบรอบ 8 ปีการปฏิวัติสยาม การก่อสร้างใช้งบประมาณรวม 250,000 บาท เนื่องด้วยชื่อ "ประชาธิปไตย" ของอนุสาวรีย์ วงเวียนนี้จึงมักถูกใช้เป็นพื้นที่สำคัญของการชุมนุมทางการเมืองเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยหลายครั้ง เช่น ระหว่างเหตุการณ์ 14 ตุลา, เหตุการณ์ 6 ตุลา, พฤษภาทมิฬ, วิกฤตการเมือง พ.ศ. 2553 และ การประท้วงเรียกร้องประชาธิปไตย พ.ศ.
วัดราชนัดดารามวรวิหาร
วัดในกรุงเทพมหานคร
ระยะทาง: ประมาณ 297 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.754835,100.504292
วัดราชนัดดารามวรวิหาร หรือ "วัดราชนัดดา" เป็นวัดตั้งอยู่ที่สี่แยกระหว่างถนนราชดำเนินกลางกับถนนมหาไชย ในเขตพระนคร แปลว่า “วัดของพระราชนัดดา” วัดนี้สร้างขึ้นตามพระบรมราชโองการของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อเป็นพระเกียรติแก่พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าโสมนัสวัฒนาวดี พระราชนัดดาในปี 2389
อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา
ระยะทาง: ประมาณ 289 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.756674,100.499352
อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา เป็นสิ่งก่อสร้างที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่รำลึกถึงผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ในวันที่ 14 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ตั้งอยู่เลขที่ 14/16 ถนนราชดำเนินกลาง แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกคอกวัว สร้างเสร็จในปี พ.ศ.
ศาลาเฉลิมไทย
อดีตโรงภาพยนตร์ในกรุงเทพมหานคร
ระยะทาง: ประมาณ 299 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.7556843,100.5046892
ศาลาเฉลิมไทย เป็นอดีตโรงมหรสพและโรงภาพยนตร์แห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ที่มุมถนนราชดำเนินกลางกับถนนมหาไชย ได้รับการสร้างขึ้นตามความประสงค์ของจอมพลแปลก พิบูลสงคราม ศาลาเฉลิมไทยได้สร้างขึ้นราวปี พ.ศ. 2483 แต่ก็ได้หยุดไปช่วงหนึ่งเนื่องจากสงครามโลกครั้งที่ 2 และได้เปิดอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 อาคารก่อสร้างขึ้นด้วยรูปทรงโมเดิร์นตามแบบตะวันตกไม่มีหลังคา คล้ายคลึงกับศาลาเฉลิมกรุง อาคารได้รับการออกแบบโดยจิตรเสน อภัยวงศ์ ที่จบการศึกษาด้านสถาปัตยกรรมจากประเทศฝรั่งเศส และตกแต่งภายในโดยศิววงศ์ กุญชร ณ อยุธยา ศาลาเฉลิมไทยเมื่อเปิดใหม่ ได้กลายเป็นหนึ่งในโรงมโหรสพที่ทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่งในขณะนั้น ด้วยที่นั่งราว 1,200 ที่นั่ง พร้อมที่นั่งชั้นบน เวทีเป็นแบบมีกรอบหน้า มีเวทีแบบเลื่อนบนราง (Wagon Stage) เพื่อความรวดเร็วในการเปลี่ยนฉาก ก่อนจะเปลี่ยนไปเป็นโรงภาพยนตร์ในปี พ.ศ.
โรงเรียนสตรีวิทยา
สถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาประเภทหญิงล้วนในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 (กรุง
ระยะทาง: ประมาณ 113 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.757314,100.502004
โรงเรียนสตรีวิทยา (อักษรย่อ: ส.ว.; อังกฤษ: Satriwithaya School) เป็นโรงเรียนรัฐบาล โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภทโรงเรียนสตรีล้วน ตั้งอยู่ที่ถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้น ม.1 ถึง ม.6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 (กรุงเทพมหานคร)
ลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์
ระยะทาง: ประมาณ 299 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.7556843,100.5046892
ลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ เป็นลานสวนกลางแจ้งตั้งอยู่บริเวณมุมถนนราชดำเนินกลางตัดกับถนนมหาไชย แขวง บวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ตั้งชื่อตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศเป็น พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ พื้นที่โดยรอบเป็นลานกว้าง มีพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวประดิษฐานอยู่ นอกจากนี้ ยังมีการรจัดสร้างพลับพลาที่ประทับเพื่อใช้เป็นที่สำหรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงออกรับแขกเมืองของประเทศ ลานพลับพลาแห่งนี้สร้างขึ้นในปี พ.ศ.
นิทรรศน์รัตนโกสินทร์
พิพิธภัณฑ์ในเขตพระนคร
ระยะทาง: ประมาณ 176 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.756221,100.503626
อาคารนิทรรศน์รัตนโกสินทร์ เป็นอาคาร 4 ชั้น ตั้งอยู่บริเวณเดียวกับวัดราชนัดดาราม จัดแสดงนิทรรศการถาวรเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของกรุงรัตนโกสินทร์ โดยอยู่ในความดูแลของสำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์
ถนนดินสอ
ระยะทาง: ประมาณ 132 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.755617,100.501005
ถนนดินสอ (อักษรโรมัน: Thanon Dinso) ถนนเส้นหนึ่งในพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นที่วงเวียนเสาชิงช้าที่ถนนบำรุงเมือง บริเวณหน้าเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ และทอดยาวออกไปยังถนนราชดำเนินกลางผ่านอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ไปสิ้นสุดลงที่แยกสะพานวันชาติ เชิงสะพานเฉลิมวันชาติ โดยเป็นถนนที่เป็นเส้นตรงตลอดทั้งสาย มีความยาวทั้งสิ้น 850 เมตร ถนนดินสอ เป็นถนนที่สร้างขึ้นในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 เหตุที่ได้ชื่อว่า "ดินสอ" เนื่องจากแถบนี้ในช่วงกรุงศรีอยุธยา ผู้คนที่อาศัยอยู่ที่นี่มีอาชีพทำดินสอและกระดาษ จนได้ชื่อว่า "ย่านป่าดินสอ" ปรากฏเป็นหลักฐานในเอกสารจากหอหลวง เรื่องคำให้การขุนหลวงวัดประดู่ ความว่า "ย่านป่าดินสอ ริมวัดพระงาม มีร้ายขายดินสอศิลาอ่อนแก่ แลดินสอขาวเหลือง ดินสอดำ ชื่อตลาดบ้านดินสอ" จนล่วงมาถึงยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ อาชีพทำดินสอของผู้คนแถบนี้ก็ยังคงอยู่ และถูกเรียกว่า "ย่านดินสอ" หรือ "บ้านดินสอ" ต่อมามีการสร้างถนนขึ้นเมื่อปี พ.ศ.
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
ฝนเบา ๆ
29 องศาเซลเซียส
35 องศาเซลเซียส
29 องศาเซลเซียส
30 องศาเซลเซียส
1011 hPa
80 %
1011 hPa
1010 hPa
10000 เมตร
1.17 เมตร/วินาที
1.74 เมตร/วินาที
10 ระดับ
100 %
06:13:07
17:49:54