ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Bangkok
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
T.C.C. Technology Co., Ltd.
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โรงเรียนในกรุงเทพ
ระยะทาง: ประมาณ 572 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.735567,100.525372
โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา มีประวัติการก่อตั้งโรงเรียนสืบเนื่องมาจาก "โรงเรียนมัธยมหอวังแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" ซึ่งเป็นโรงเรียนสาธิตสังกัดแผนกวิชาครุศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงค์เพื่อการฝึกหัดครู ชั้นประโยคครูมัธยม ครั้นต่อมาโรงเรียนมัธยมหอวังฯ ได้เปลี่ยนรูปงานเป็น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แผนกวิชาครุศาสตร์จึงไม่มีโรงเรียนสำหรับฝึกหัดครูเป็นระยะเวลานานประมาณ 15 ปี เมื่อแผนกวิชาครุศาสตร์ขยายงานเป็น คณะครุศาสตร์ โดยมีศาสตราจารย์ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา เป็นคณบดีคนแรก ท่านได้เล็งเห็นความจำเป็นในการจัดตั้งโรงเรียนสาธิต เพื่อการฝึกหัดครูขั้นปริญญาขึ้นแทนโรงเรียนมัธยมหอวังฯ จึงได้ดำเนินการจัดตั้งโรงเรียนขึ้นโดยให้ชื่อว่า "โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย" และทำพิธีเปิดป้ายชื่อโรงเรียนเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ.
เขตบางรัก
เขตในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
ระยะทาง: ประมาณ 45 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.731,100.524
บางรัก เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตในฝั่งพระนครของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาทางตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับเขตปทุมวันทางทิศเหนือและตะวันออก เขตสาทรทางทิศใต้ และติดต่อกับเขตสัมพันธวงศ์และเขตคลองสาน (ตรงข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา) ทางตะวันตก
ถนนสีลม
ระยะทาง: ประมาณ 642 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.72483574,100.52400112
ถนนสีลม เป็นถนนสายสำคัญในเขตบางรัก กรุงเทพมหานคร โดยเป็นถนนคอนกรีตขนาดกว้าง 6 ช่องทางจราจร มีช่องจอดรถและบาทวิถีทั้ง 2 ข้าง ความยาวประมาณ 2.78 กิโลเมตร เริ่มตั้งแต่ถนนพระรามที่ 4 ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ตัดกับถนนศาลาแดง ถนนคอนแวนต์ ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ถนนเดโช ถนนปั้น ถนนประมวญ ถนนสุรศักดิ์ และถนนมเหสักข์ ทางพิเศษศรีรัช และไปสิ้นสุดที่ถนนเจริญกรุง สีลมเป็นถนนที่มีเกาะกลางและมีต้นไม้ใหญ่ปลูกเรียงรายไปตลอดแนวถนนจำนวน 483 ต้น และเป็นถนนสำคัญสายแรกที่เดินสายไฟฟ้าและสายโทรศัพท์ไว้ใต้ดิน
ห้องสมุดเนียลสัน เฮส์
ระยะทาง: ประมาณ 411 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.727049,100.52295
ห้องสมุดเนียลสัน เฮส์ (อังกฤษ: Neilson Hays Library) จดทะเบียนขึ้นเป็นสมาคมห้องสมุด เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2412 โดยสมาชิกสมาคมสตรี (The Ladies’ Bazaar Association) ซึ่งสมาชิกเป็นสุภาพสตรีชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพ โดยนำรายได้จากการขายของของสมาคมสตรีนำมาจัดตั้งสมาคมห้องสมุดสตรีกรุงเทพ (The Bangkok Ladies' Library Association) ขึ้นเพื่อให้บริการแก่ชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพโดยมีข้อบังคับของสมาคมที่ให้การบริหารงานนั้นต้องประกอบไปด้วยกรรมการสมาคมที่เป็นสตรีจำนวนไม่เกิน 12 คน นายกสมาคมคนแรกซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งก็คือซาราห์ บรัคลีย์ แบรดลีย์ (Sarah Blachley Bradley) ซึ่งเป็นภรรยาของหมอบรัดเลย์ (Dr.Dan Beech Bradley) ในปี พ.ศ. 2454 ได้เปลี่ยนชื่อจาก สมาคมห้องสมุดสตรีกรุงเทพ เป็น สมาคมห้องสมุดกรุงเทพ ส่วนชื่อปัจจุบันของห้องสมุด คือ ห้องสมุดเนียลสัน เฮส์ นั้นมาจากชื่อของนางเจนนี เนียลสัน เฮส์ (Jennie Neilson Hays) ซึ่งชื่อเดิมของนางคือ เจนนีย์ เนียลสัน เป็นชาวเดนมาร์ก ครอบครัวได้อพยพไปอยู่อเมริกาต่อมาได้เดินทางเข้ามาเป็นมิชชั่นนารีในประเทศไทยในปี พ.ศ.
พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก
พิพิธภัณฑ์ในเขตบางรัก
ระยะทาง: ประมาณ 691 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.72833333,100.51805556
พิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก หรือ พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เป็นหนึ่งใน 27 พิพิธภัณฑ์กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ที่บ้านเลขที่ 273 ซอยเจริญกรุง 43 ถนนเจริญกรุง เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เป็นพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นที่ก่อตั้งโดยเอกชน โดยเจ้าของบ้านมีวัตถุประสงค์ที่จะมอบบ้านของตนให้เป็นพิพิธภัณฑ์เพื่อให้เยาวชนได้ศึกษา และต่อมาได้โอนกรรมสิทธิ์ให้กรุงเทพมหานครดูแล เมื่อ 1 ตุลาคม พ.ศ.
ย่านสามย่าน
ระยะทาง: ประมาณ 570 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.732806,100.528753
สามย่าน เป็นสี่แยกในเขตปทุมวันและเขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนพระรามที่ 4 ถนนพญาไท และถนนสี่พระยา รวมทั้งเป็นชื่อของย่านที่อยู่รอบ ๆ ทางแยกนี้
ถนนเดโช
ระยะทาง: ประมาณ 439 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.726858,100.525267
ถนนเดโช (อักษรโรมัน: Thanon Decho) เป็นถนนที่อยู่ในพื้นที่แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เป็นถนนสั้น ๆ ในลักษณะเป็นซอยเชื่อมระหว่างถนนสุรวงศ์กับถนนสีลม ที่แยกเดโช เป็นถนนที่เกิดขึ้นโดยเจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ (โต บุนนาค) เป็นผู้จัดซื้อที่ดินและตัดถนนขึ้นสองสาย และท่านผู้หญิงตลับสีหราชเดโช ผู้เป็นภรรยาได้ขอพระราชทานชื่อจากสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ขณะที่ทรงเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ พระองค์พระราชทานชื่อว่า ถนนเดโช ตามบรรดาศักดิ์ที่เจ้าพระยาสุรวงศ์วัฒนศักดิ์ดำรงอยู่ในขณะนั้น คือ พระยาสีหราชเดโชชัย พร้อมกับถนนสุรวงศ์ และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงรับถนนทั้งสองสายนี้เป็นถนนหลวงด้วย ในปัจจุบันบริเวณถนนเดโชเป็นถนนที่เต็มไปด้วยตึกรามของกลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่จำนวนมาก เช่นเดียวกับ ถนนสีลมที่อยู่ใกล้เคียง
ถนนสี่พระยา
ระยะทาง: ประมาณ 292 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.731094,100.521347
ถนนสี่พระยา (อักษรโรมัน: Thanon Si Phraya) ถนนสายหนึ่งในพื้นที่เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ถือเป็นถนนสายรองของพื้นที่ เป็นถนนเชื่อมระหว่างถนนเจริญกรุงกับถนนพระรามที่ 4 ความยาวทั้งหมด 1,645 เมตร มีจุดเริ่มต้นที่แขวงบางรัก ที่ด้านหน้าโรงแรมรอยัลออร์คิดเชอราตัน ใกล้กับศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้ จนกระทั่งไปสิ้นสุดที่แยกสามย่านอันเป็นจุดตัดระหว่างถนนพระรามที่ 4 กับถนนพญาไท โดยทำหน้าที่เป็นเส้นแบ่งระหว่างแขวงสี่พระยากับแขวงมหาพฤฒาราม
วัดหัวลำโพง
พระอารามหลวงในกรุงเทพมหานคร
ระยะทาง: ประมาณ 564 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.731685,100.529095
วัดหัวลำโพง พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ตั้งอยู่ในเขตบางรัก กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นวัดราษฎร์ชื่อ "วัดวัวลำพอง" สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นที่ตั้งของโรงเรียนวัดหัวลำโพงและมูลนิธิร่วมกตัญญู
สามย่านมิตรทาวน์
ระยะทาง: ประมาณ 614 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.73416667,100.52833333
สามย่านมิตรทาวน์ (อังกฤษ: Samyan Mitrtown) เป็นโครงการพัฒนาพื้นที่เชิงพาณิชยกรรมแบบผสมบริเวณหัวมุมตะวันตกเฉียงเหนือของสี่แยกสามย่าน ระหว่างถนนพระรามที่ 4 และถนนพญาไท โดย บริษัท เกษมทรัพย์ภักดี จำกัด ได้ทำสัญญาเช่าที่ดินจำนวน 13 ไร่จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นระยะเวลา 30 ปี ภายในโครงการประกอบด้วยพื้นที่ค้าปลีก ที่อยู่อาศัย และอาคารสำนักงาน พื้นที่รวม 222,000 ตร.ม.
แขวงมหาพฤฒาราม
แขวงในเขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
ระยะทาง: ประมาณ 600 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.7355,100.52169444
มหาพฤฒาราม เป็นหนึ่งในห้าแขวงของเขตบางรัก กรุงเทพมหานคร
สุสานจีนบาบ๋า
สุสานจีนบนถนนสีลม
ระยะทาง: ประมาณ 627 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.7251674,100.52551781
สุสานจีนบาบ๋า (ตัวเต็ม: 福山亭 อ่านในภาษาฮกเกี้ยนว่า "ฮกซันเต็ง") เป็นสุสานสาธารณะของชาวจีนบาบ๋า ซึ่งเป็นกลุ่มชาวจีนฮกเกี้ยนที่มาจากประเทศสิงคโปร์ และถือเป็น 1 ใน 3 สุสานสาธารณะจีนในกลุ่มย่านแยกเดโช ถนนสีลมที่ยังหลงเหลืออยู่ ประกอบด้วยสุสานจีนบาบ๋า สุสานฮกเกี้ยน และสุสานและฌาปนสถานสมาคมจีนแคะ ตั้งอยู่ติดต่อกับถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ประมาณ 5.77 ไร่ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2450 ในบรรดาสุสานสาธารณะจีนทั้งหมดในย่านแยกเดโชถนนสีลม สุสานจีนบาบ๋าเป็นสุสานที่มีขนาดใหญ่ที่สุด เป็นสุสานจีนเพียงแห่งเดียวที่ติดถนนสีลม และไม่ได้อยู่ภายใต้การดูแลรักษาโดยสมาคมจีน แต่อยู่ภายใต้ระบบกฎหมายทรัสต์ที่เรียกว่า ทรัสต์สุสานจีนบาบ๋า โดยทรัสต์ดังกล่าวเกิดขึ้นจากการรวมตัวของกลุ่มชาวจีนบาบ๋าในกรุงเทพมหานครเพื่อรวบรวมเงินและก่อตั้งเป็นสุสานจีนขึ้น และแต่งตั้งให้มีทรัสตี (trustee) ทำหน้าที่ดูแลรักษาพื้นที่ แม้กลุ่มชาวจีนบาบ๋าจะเป็นกลุ่มชาวจีนที่มีจำนวนน้อย แต่ก็ได้มีการรวมตัวกันจัดตั้งองค์กรในชื่อสโมสรจีนบาบ๋า (Strait Born Chinese Association, SBCA) ขึ้นในปี พ.ศ. 2458 มีจุดประสงค์หลักคือการช่วยเหลือเกื้อกูลด้านการเงินและค่าจัดการศพ ก่อนจะถูกยุบไปในช่วงเวลาต่อมา ปัจจุบันสุสานจีนบาบ๋ามีหลุมฝังศพภายในประมาณ 200 หลุม หลุมสุดท้ายที่ฝังในสุสานระบุปี พ.ศ.
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
เมฆเต็มท้องฟ้า
29 องศาเซลเซียส
35 องศาเซลเซียส
29 องศาเซลเซียส
30 องศาเซลเซียส
1012 hPa
80 %
1012 hPa
1010 hPa
10000 เมตร
1.32 เมตร/วินาที
2.01 เมตร/วินาที
52 ระดับ
100 %
06:13:00
17:49:51