logo
หน้าแรก>

202.62.63.108 - แบบสอบถาม IP

สอบถาม

ประเทศ/ภูมิภาค:

flagsกัมพูชา

รัฐ/จังหวัด:

12

เมือง:

phnom penh

ละติจูดและลองจิจูด:

11.558300,104.912100

โซนเวลาท้องถิ่น:

Asia/Phnom_Penh

รหัสไปรษณีย์:

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย:

ภาษา:

*

User-Agent:

undici

Proxy IP:

เลขที่

บัญชีดำ:

เลขที่

ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ

ip-api

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

IPinfo

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

MaxMind

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

Luminati

ประเทศ/ภูมิภาค

flagsKH

รัฐ/จังหวัด

12

เมือง

phnompenh

โซนเวลาท้องถิ่น

Asia/Phnom_Penh

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

Cogetel Online, Cambodia, ISP

ละติจูด

11.5583

ลองจิจูด

104.9121

รหัสไปรษณีย์

-

db-ip

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

ipdata

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

  • การตรวจจับการรั่วไหลของ WebRTC
    เริ่ม
  • การตรวจจับการรั่วไหลของ DNS
    เริ่ม
  • การทดสอบ HTTP2/SSL/TLS
    เริ่ม

สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้

  • ประเทศกัมพูชา

    ประเทศกัมพูชา

    ราชอาณาจักรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

    ระยะทาง: ประมาณ 1050 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 11.55,104.91666667

    กัมพูชา (เขมร: កម្ពុជា, กมฺพุชา) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า พระราชอาณาจักรกัมพูชา (เขมร: ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា, พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับประเทศไทย ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและลาว ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับเวียดนาม และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดอ่าวไทย ด้วยประชากรกว่า 15 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือมากกว่า 97% ชนกลุ่มน้อยในประเทศมีชาวเวียดนาม ชาวจีน ชาวจาม และชาวเขากว่า 30 เผ่า เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ พนมเปญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ มีพระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็นประมุขแห่งรัฐ ประมุขรัฐบาล คือ สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี ใน พ.ศ. 1345 พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ปราบดาภิเษกตนเป็นพระมหากษัตริย์ อันเป็นจุดเริ่มต้นของจักรวรรดิขะแมร์ อำนาจและความมั่งคังมหาศาลของจักรวรรดิขะแมร์ที่มีพระมหากษัตริย์ครองราชสมบัติสืบต่อกันมานั้นได้มีอิทธิพลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นเวลากว่า 600 ปี กัมพูชาถูกปกครองเป็นเมืองขึ้นของประเทศเพื่อนบ้าน กระทั่งถูกฝรั่งเศสยึดเป็นอาณานิคมในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 กัมพูชาได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2496 สงครามเวียดนามได้ขยายเข้าสู่กัมพูชา ทำให้เขมรแดงขึ้นสู่อำนาจ ซึ่งยึดกรุงพนมเปญได้ใน พ.ศ.

  • พนมเปญ

    พนมเปญ

    เมืองหลวงของประเทศกัมพูชา

    ระยะทาง: ประมาณ 1583 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 11.56944444,104.92111111

    พนมเปญ หรือ พนุมปึญ (เขมร: ភ្នំពេញ ภฺนํเพญ, ออกเสียง: [pʰnum pɨɲ]; อังกฤษ: Phnom Penh) อีกชื่อหนึ่งที่เป็นทางการคือ ราชธานีพนมเปญ เป็นเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองหลวงของนครหลวงพนมเปญด้วย ครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่า ไข่มุกแห่งเอเชีย (เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 พร้อมกับเมืองเสียมราฐ) นับเป็นเมืองที่เป็นเป้าการท่องเที่ยวทั้งจากผู้คนในประเทศและจากต่างประเทศ พนมเปญยังมีชื่อเสียงในฐานะที่มีสถาปัตยกรรมแบบเขมรดั้งเดิมและแบบได้รับอิทธิพลฝรั่งเศส

  • เจนละ

    เจนละ

    ระยะทาง: ประมาณ 1050 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 11.55,104.91666667

    อาณาจักรเจนละ, หรือภาษาจีนว่า เจินล่า (จีนตัวย่อ: 真腊; จีนตัวเต็ม: 真臘; พินอิน: Zhēnlà), ภาษาเขมรว่า เจนฬา (เขมร: ចេនឡា), และภาษาเวียดนามว่า เจินหลัป (เวียดนาม: Chân Lạp) เป็นชื่อที่เอกสารจีนใช้เรียกรัฐซึ่งมาทีหลังฟูนัน และมาก่อนอาณาจักรพระนคร ดำรงอยู่ในพื้นที่อินโดจีนช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 6 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9 และในเอกสารที่โจว ต้ากวาน (周達觀) ขุนนางจีน เขียนขึ้นเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13 ก็ยังปรากฏชื่อนี้อยู่ เอกสารของราชวงศ์สุย (隋朝) ระบุว่า ฟูนันซึ่งส่งทูตมาในช่วง ค.ศ. 616–617 นั้นมีเมืองขึ้นเมืองหนึ่งนามว่า "เจนละ" ภายหลัง ผู้นำเจนละยกทัพไปตีฟูนันได้สำเร็จ ไม่เป็นเมืองขึ้นอีกต่อไป และเอกสารอื่น ๆ นำข้อความนี้ไปอ้างถึง ซึ่งก็เป็นที่โต้แย้งเรื่องความถูกต้องแม่นยำมาตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1970 นอกจากนี้ ที่เอกสารจีนว่า เจนละเป็นรัฐอันหนึ่งอันเดียวกันนั้น ก็ถกเถียงกันมาช้านานว่า เป็นความเข้าใจคลาดเคลื่อนของผู้บันทึกเอกสารจีนหรือไม่ และนักวิชาการส่วนใหญ่ในปัจจุบันเห็นว่า เจนละเป็นรัฐต่าง ๆ ที่มารวมกลุ่มกันอย่างหลวม ๆ และชั่วคราว มากกว่าจะเป็นรัฐอันหนึ่งอันเดียว เจนละเหมือนฟูนันตรงที่มาได้ที่ตั้งอันเป็นจุดยุทธศาสตร์ตรงเส้นทางการค้าทางน้ำสายมณฑลอินโด (Indosphere) กับสายมณฑลวัฒนธรรมเอเชียตะวันออก (East Asian cultural sphere) ตัดกันพอดี ทำให้เจนละมีอิทธิพลทางวัฒนธรรมและเศรษฐกิจสังคมอยู่เป็นเวลานาน ทั้งเป็นเหตุให้เจนละรับระบบการเขียนจารึกของราชวงศ์ปัลลวะและราชวงศ์จาลุกยะแห่งอินเดียใต้มาใช้ ชนชั้นปกครองในเจนละนั้น ที่มาที่ไปเป็นอย่างไรยังไม่แน่ชัด ไมเคิล วิกเกอรี (Michael Vickery) นักประวัติศาสตร์ ขนานนามพวกเขาว่า "ประมุขแห่งดงรัก" (Dângrêk Chieftains) เพราะอาศัยอยู่แถบเหนือและใต้ของพนมดงรัก และสร้างศิลาจารึกไว้หลายหลักซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุดในภูมิภาคนี้ มีเนื้อหาว่าด้วยวงศ์วานของพวกเขาซึ่งแสดงให้เห็นถึงการแผ่อำนาจทางการเมือง จารึกภาษาสันสกฤตหลักหนึ่งจาก Vãl Kantél ในสทึงแตรง (ស្ទឹងត្រែង สฺทึงแตฺรง) มีข้อความสื่อว่า ผู้นำคนหนึ่งนาม "วีรวรรมัน" (Vīravarman) ใช้แนวคิดเทวราชาและหริหระของศาสนาฮินดูในการปกครอง เอกสารจีนชื่อ ซินถังชู (新唐書) กล่าวว่า ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 8 รัฐเจนละแตกแยกออกเป็นเจนละบก (陸真臘) กับเจนละน้ำ (水真臘) แล้วภายในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8 เจนละน้ำก็ตกเป็นเมืองขึ้นของชวา ผู้ปกครองคนสุดท้ายของเจนละน้ำนั้นเชื่อว่าถูกประหาร ทำให้สิ้นราชวงศ์ แล้วเจนละน้ำก็ผนวกเข้ากับชวาในราว ค.ศ. 790 ส่วนชัยวรรมันที่ 2 (ជ័យវរ្ម័នទី២ ชัยวรฺมันที ๒) ผู้นำท้องถิ่น รวมรวบดินแดนทั้งหลายที่เหลือไปก่อตั้งเป็นจักรวรรดิเขมรใน ค.ศ.

  • สถานีรถไฟพนมเปญ

    สถานีรถไฟพนมเปญ

    ระยะทาง: ประมาณ 1658 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 11.5725,104.9167

    สถานีรถไฟพนมเปญ (เขมร: ស្ថានីយ៍រ៉ូយ៉ាល់ភ្នំពេញ) เป็นสถานีรถไฟหลักของกรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ตั้งอยู่ใกล้กับมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์สุขาภิบาล มหาวิทยาลัยการจัดการแห่งชาติ และสถานทูตแคนาดา สถานีรถไฟพนมเปญสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2475 ด้วยคอนกรีตเสริมแรง เบื้องต้นได้เปิดการเดินรถไปสถานีรถไฟพระตะบอง ทางตะวันตกของประเทศ ในกาลต่อมากัมพูชามีทางรถไฟสองสาย คือสายตะวันตกเฉียงเหนือ (หรือสายเหนือ–ตะวันตก) สุดที่สถานีรถไฟปอยเปต และอีกสายคือสายตะวันตกเฉียงใต้ (หรือสายใต้) สุดที่เมืองพระสีหนุ สร้างแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2512 สถานีรถไฟพนมเปญได้รับการปรับปรุงใหม่ก่อนเปิดให้บริการอีกครั้งในวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ.

  • พหุกีฬาสถานชาติโอลิมปิก

    ระยะทาง: ประมาณ 13 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 11.558392,104.912028

    พหุกีฬาสถานชาติโอลิมปิก (เขมร: ពហុកីឡដ្ឋានជាតិអូឡាំពិក; อังกฤษ: Phnom Penh Olympic Stadium) ตั้งอยู่ที่กรุงพนมเปญ, ประเทศกัมพูชา มีความจุ 50,000 ที่นั่ง สร้างขึ้นเพื่อรองรับการจัดแข่งขันกีฬาแหลมทอง 1963 แต่ไม่ได้ใช้ในงานดังกล่าวเนื่องจากความขัดแย้งภายในประเทศ ส่วนในซีเกมส์ 2023 ได้ใช้สนามแห่งนี้ในการแข่งขันฟุตบอลชาย สำหรับพิธีเปิดการแข่งขันนั้นจัดขึ้นที่กีฬาสถานชาติมรดกเตโช

  • ตลาดหลักทรัพย์กัมพูชา

    ระยะทาง: ประมาณ 1684 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 11.57202778,104.91858333

    ตลาดหลักทรัพย์กัมพูชา (เขมร: ក្រុមហ៊ុន ផ្សារមូលបត្រកម្ពុជា; ตัวย่อ: ផមក, อังกฤษ: Cambodia Securities Exchange, CSX) เป็นตลาดหลักทรัพย์ในประเทศกัมพูชา มีวัตถุประสงค์คือ การแลกเปลี่ยนคือการให้บริการอำนวยความสะดวกการไหลของเงินทุน การลงทุน และจัดสรรเงินทุนขึ้นอยู่กับกลไกตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่อาคารคานาเดียทาวเวอร์ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา

  • โทรคมนาคมกัมพูชา

    ระยะทาง: ประมาณ 819 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 11.55641667,104.91936111

    โทรคมนาคมกัมพูชา (เขมร: ទូរគមនាគមន៍កម្ពុជា ทูรคมนาคมน์กมฺพุชา; อังกฤษ: Telecom Cambodia: TC) เป็นรัฐวิสาหกิจหนึ่งของประเทศกัมพูชา เป็นบริษัทโทรคมนาคมหลักของประเทศ เดิมกระทรวงไปรษณีย์และโทรคมนาคมกัมพูชาดำเนินเครือข่ายโทรคมนาคมด้วยตนเองมาจนก่อตั้งบริษัทนี้ขึ้นใน ค.ศ.

  • วิมานเอกราช

    ระยะทาง: ประมาณ 1758 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 11.5564,104.9281

    วิมานเอกราช (เขมร: វិមានឯករាជ្យ วิมานเอกราชฺย) เป็นอนุสาวรีย์ที่สำคัญแห่งหนึ่งในพนมเปญ ประเทศกัมพูชา สร้างใน ค.ศ. 1958 เพื่อรำลึกถึงการประกาศเอกราชจากประเทศฝรั่งเศสเมื่อ ค.ศ.

  • ตลาดกลาง (พนมเปญ)

    ตลาดกลาง (พนมเปญ)

    ระยะทาง: ประมาณ 1583 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 11.56944444,104.92111111

    ตลาดกลางกรุงพนมเปญ (ฝรั่งเศส: Marché central de Phnom Penh) หรือ พซา ทม ทเม็ย (เขมร: ផ្សារធំថ្មី, "ตลาดใหญ่แห่งใหม่") เป็นตลาดและจุดหมายตาแห่งหนึ่งของกรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา โดยเป็นอาคารแบบอาร์ตเดโกสีเหลือง มีโดมสูง 26 เมตร มีอาคารปีกทรงหลังคาโค้ง แยกออกมาสี่ด้าน ออกแบบโดย Jean Desbois สถาปนิกชาวฝรั่งเศส และควบคุมการก่อสร้างโดย Louis Chauchon ซึ่งเป็นสถาปนิกชาวฝรั่งเศสเช่นกัน ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2480 กล่าวกันว่าที่นี่เป็นตลาดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของเอเชีย ภายในอาคารมีร้านรวงและสินค้าหลากหลาย ครั้นตลาดกลางทรุดโทรมลง จึงมีการบูรณะปรับปรุงอาคารตลาดกลางใหม่ช่วง พ.ศ.

  • เขตปรำปีร์เมียะเกอะรา

    เขตปรำปีร์เมียะเกอะรา

    ระยะทาง: ประมาณ 624 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 11.5638,104.911

    เขตปรำปีร์เมียะเกอะรา (เขมร: ខណ្ឌប្រាំពីរមករា, "เขตวันที่เจ็ดมกราคม") เป็นเขตหนึ่งของกรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา มีพื้นที่ 2.21 ตารางกิโลเมตร มีประชากร 71,092 คน แบ่งการปกครองออกเป็น 8 แขวง กับ 33 หมู่บ้าน เป็นเขตที่มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดแต่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในพนมเปญ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเขมร รองลงมาเป็นชาวจีน เวียดนาม และชาวต่างชาติอื่น ๆ ชื่อเขตตั้งเพื่อระลึกถึงวันที่ทหารอาสาสมัครเวียดนามเข้ายึดกรุงพนมเปญ ช่วยเหลือประชาชนกัมพูชาให้หลุดพ้นการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์จากเงื้อมมือของเขมรแดงกลุ่มปล โปต เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ.

  • อาสนวิหารพนมเปญ

    อาสนวิหารพนมเปญ

    ระยะทาง: ประมาณ 1956 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 11.5752,104.917

    อาสนวิหารคริสตราชา พนมเปญ (ฝรั่งเศส: Cathédrale du Christ-Roi de Phnom Penh) หรือโดยย่อว่า อาสนวิหารพนมเปญ (เขมร: រាជធានីភ្នំពេញវិហារ) เป็นโบสถ์คริสต์ชนิดอาสนวิหารในกรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา อาสนวิหารแห่งนี้เริ่มก่อสร้างเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 19 ในยุคที่กัมพูชาเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส โดยมีสถาปัตยกรรมใกล้เคียงกับอาสนวิหารแร็งส์ในประเทศฝรั่งเศส อาสนวิหารถูกทำลายลงในช่วงสงครามกลางเมืองกัมพูชา

  • พิพิธภัณฑ์การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ต็วลแซลง

    พิพิธภัณฑ์การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ต็วลแซลง

    อดีตเรือนจำ S-21 ของเขมรแดงในประเทศกัมพูชา

    ระยะทาง: ประมาณ 1164 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 11.54944444,104.91777778

    พิพิธภัณฑ์การฆ่าล้างเผ่าพันธ์ุต็วลแซลง (เขมร: សារមន្ទីរឧក្រិដ្ឋកម្មប្រល័យពូជសាសន៍ទួលស្លែង, อักษรโรมัน: Saromontir Ukredth Kamm Braly Pouchsasa Tuol Sleng; Tuol Sleng Genocide Museum) หรือ ต็วลแซลง (เขมร: ទួលស្លែង, Tuŏl Slêng [tuəl slaeŋ]; Tuol Sleng, แปลว่า: "เนินไม้พิษ" หรือ "เนินต้นแสลงใจ") หรือบางทีนิยมทับศัพท์เป็น ตวลสเลง เป็นพิพิธภัณฑ์ที่บอกเล่าลำดับเหตุการณ์ของการสังหารหมู่ชาวเขมร ตั้งอยู่ในพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ตัวอาคารเริ่มแรกสร้างขึ้นเป็นโรงเรียนมัธยม และต่อมาถูกเขมรแดงใช้งานเป็น เรือนจำความมั่นคงที่ 21 (Security Prison; S-21; เขมร: មន្ទីរស-២១) นับตั้งแต่ปี 1975 กระทั่งถูกโค่นล้มในปี 1979 ในระหว่างปี 1976 ถึง 1979 มีผู้ถูกคุมขังประมาณ 20,000 คนในต็วลแซลง ที่นี่เป็นหนึ่งใน 150 ถึง 196 ศูนย์ทรมานและประหารชีวิตของเขมรแดงและตำรวจลับ สันติบาล เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2010 ศาลคดีเขมรแดงตัดสินความผิดอดีตผู้กำกับการเรือนจำต็วลแซลง Kang Kek Iew ด้วยความผิดฐานอาชญากรรมสงครามต่อมนุษยชาติ และความผิดต่ออนุสัญญาเจนีวาปี 1949 เขาเสียชีวิตเมื่อปี 2020 ขณะถูกจำคุกตลอดชีวิต

สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่

สภาพอากาศปัจจุบัน

เมฆกระจาย

อุณหภูมิปัจจุบัน

27 องศาเซลเซียส

อุณหภูมิที่เหมาะสม

32 องศาเซลเซียส

อุณหภูมิต่ำสุด

27 องศาเซลเซียส

อุณหภูมิสูงสุด

27 องศาเซลเซียส

ความดันบรรยากาศ

1010 hPa

ความชื้น

100 %

ความกดอากาศระดับน้ำทะเล

1010 hPa

ความดันบรรยากาศพื้นดิน

1008 hPa

ทัศนวิสัย

9000 เมตร

คลาวด์

40 %

เวลาพระอาทิตย์ขึ้น

05:49:59

เวลาพระอาทิตย์ตก

17:40:18

อ่านเพิ่มเติม