ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
10
เมือง
bangkok
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Bangkok
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
PTT Digital Solutions Company Limited
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
เขตบางคอแหลม
เขตในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
ระยะทาง: ประมาณ 855 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.693,100.502
บางคอแหลม เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก
สะพานพระราม 9
สะพานในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
ระยะทาง: ประมาณ 2059 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.682058,100.519001
สะพานพระราม 9 หรือที่รู้จักกันทั่วไปในนาม สะพานขึง เป็นสะพานเสาขึงระนาบเดี่ยวแห่งแรกของประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานชื่อสะพานพระราม 9 เพื่อเป็นสิริมงคลเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2530 สะพานพระราม 9 เป็นสะพานถนนข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาในเส้นทางทางพิเศษเฉลิมมหานคร สายดาวคะนอง-ท่าเรือ มีลักษณะเป็นสะพานชนิด Single Plane Fan Type Cable-Stayed Bridge หรือสะพานขึงโดยใช้สายเคเบิลขนาดใหญ่ขึงเป็นระนาบเดี่ยวไว้กับเสาสูงของสะพานเพื่อรับน้ำหนักของสะพาน เริ่มดำเนินการก่อสร้างเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2527 และมีพิธีเปิดการจราจรเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 โดยมีกิจกรรมวิ่งมาราธอนลอยฟ้าในเวลา 06.00 น.
สะพานกรุงเทพ
สะพานในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
ระยะทาง: ประมาณ 1886 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.700435,100.492072
สะพานกรุงเทพ เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งที่ 3 ต่อจากสะพานพระราม 6 และสะพานพระพุทธยอดฟ้า ถือเป็นสะพานโยกเพียงแห่งเดียวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ยังเปิด-ปิดได้อยู่ เชื่อมระหว่างบริเวณสี่แยกถนนตก เขตบางคอแหลมทางฝั่งพระนคร กับบริเวณสี่แยกบุคคโลในพื้นที่เขตธนบุรีทางฝั่งธนบุรี ใช้ในการคมนาคมทางบกข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาและปิด-เปิด ให้เรือเข้าออก ลักษณะการก่อสร้างเป็นแบบคอนกรีตอัดแรง โดยวิธีการอิสระซึ่งยาวที่สุดในประเทศไทย มีช่องทางจราจร 4 ช่อง ความยาวสะพาน 350.80 เมตร ช่วงกลางน้ำยาว 226 เมตร เริ่มเปิดใช้งานเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.
สะพานพระราม 3
สะพานในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
ระยะทาง: ประมาณ 1967 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.701519,100.492619
สะพานพระราม 3 เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมระหว่างถนนรัชดาภิเษกและถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน เขตธนบุรี กับถนนเจริญกรุงและถนนพระรามที่ 3 เขตบางคอแหลม สร้างขนานกับสะพานกรุงเทพ เพื่อบรรเทาปัญหาการจราจรตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
เอเชียทีค เดอะริเวอร์ฟรอนต์
ศูนย์การค้าเปิดโล่งขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร
ระยะทาง: ประมาณ 2333 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.706021,100.50466
เอเชียทีค เดอะริเวอร์ฟรอนต์ (Asiatique The Riverfront) เป็นศูนย์การค้าเปิดโล่งขนาดใหญ่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่ระหว่างซอยเจริญกรุง 72-76 ถนนเจริญกรุง แขวงวัดพระยาไกร เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร บริหารงานโดย กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ไทยรีเทล อินเวสเม้นต์ โดย บริษัท แอสเสท เวิรด์ รีเทล จำกัด ภายในโครงการประกอบด้วยร้านค้า ร้านอาหารริมน้ำ นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของโรงละครคาลิปโซ่ที่ย้ายมาจากโรงแรมเอเชีย และโรงละครโจหลุยส์ที่ย้ายมาจากสวนลุมไนท์บาซาร์ เอเชียทีค เดอะริเวอร์ฟรอนต์ เดิมเป็นที่ตั้งของวัดพระยาไกร ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนแปลงเป็นท่าเรือ โดยบริษัทอีสต์เอเชียติกสัญชาติเดนมาร์ก มาเปิดกิจการในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการสร้างเป็นโกดัง โรงเลื่อย และนำเครื่องจักรขนาดใหญ่หลายตัวมาติดตั้งไว้ และมีการสร้างท่าเรือขนถ่ายสินค้าซึ่งเป็นการเปิดประตูการค้าสากลระหว่างประเทศไทยและทวีปยุโรป ในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา กองทัพญี่ปุ่นได้เข้ามายึดท่าเรือและคลังสินค้าของบริษัทอีสต์เอเชียติก เพื่อใช้เป็นฐานกำลังและคลังแสง และยังปรากฏมาจนถึงปัจจุบัน กระทั่งในปี พ.ศ.
คริสตจักรที่ 1 สำเหร่
โบสถ์คริสต์ในเขตธนบุรี
ระยะทาง: ประมาณ 2304 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.705292,100.494071
คริสตจักรที่ 1 สำเหร่ (อังกฤษ: The First Presbyterian Church of Bangkok) เป็นโบสถ์คริสต์ของนิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทย ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 37 ซอยเจริญนคร 59 ถนนเจริญนคร แขวงสำเหร่ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร เป็นคริสตจักรแห่งแรกของคณะอเมริกันเพรสไบทีเรียน (The American Presbyterian Mission) ซึ่งมิชชันนารีคณะนี้ได้เริ่มวางรากฐานการเผยแพร่คริสต์ศาสนาในประเทศไทยตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โบสถ์คริสตจักรที่ 1 สำเหร่ได้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น ปี พ.ศ.
แยกมไหสวรรย์
ระยะทาง: ประมาณ 2659 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.704764,100.48576
แยกมไหสวรรย์ เป็นสี่แยกบริเวณจุดตัดระหว่างถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน, ถนนรัชดาภิเษก และถนนมไหสวรรย์ ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงดาวคะนอง เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยเป็นจุดเริ่มต้นของถนนรัชดาภิเษกและถนนมไหสวรรย์ ทางแยกนี้อยู่ใต้สะพานพระราม 3 ในฝั่งธนบุรี และมีโครงการก่อสร้างอุโมงค์ลอดทางแยกในแนวถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน เริ่มก่อสร้างโครงการอย่างเป็นทางวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2554 เริ่มเปิดใช้อย่างไม่เป็นทางการ 30 กันยายน พ.ศ.
แยกประชาอุทิศ (เขตราษฎร์บูรณะ)
ระยะทาง: ประมาณ 1553 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.672928,100.506516
แยกประชาอุทิศ (อังกฤษ: Pracha Uthit Junction) เป็นสามแยกจุดตัดระหว่างถนนสุขสวัสดิ์กับถนนประชาอุทิศ ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร โดยแยกนี้เป็นจุดเริ่มต้นของถนนประชาอุทิศ
ถนนตก
ระยะทาง: ประมาณ 1344 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.697146,100.497038
ถนนตก (อักษรโรมัน: Thanon Tok) เป็นถนนและทางแยกแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร เป็นสี่แยกที่ตัดระหว่างถนนเจริญกรุงกับถนนพระรามที่ 3 และถนนมไหสวรรย์ ถนนตก เป็นส่วนหนึ่งของถนนเจริญกรุง ถือได้ว่าเป็นส่วนปลายสุดของถนนเจริญกรุง โดยเกิดขึ้นมาพร้อมกับถนนเจริญกรุงในปี พ.ศ. 2404 จึงถือว่าเป็นย่านชุมชนที่เก่าแก่อีกแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร บริเวณถนนตกนั้น ด้วยสภาพของตัวถนนตัดมาสิ้นสุดที่แม่น้ำเจ้าพระยา จึงถูกเรียกว่า "ถนนตก" ซึ่งหมายความถึงสุดถนนเจริญกรุงและตกแม่น้ำเจ้าพระยานั่นเอง โดยปลายสุดของถนนตกเป็นท่าเรือชื่อ "ท่าน้ำถนนตก" ซึ่งแต่เดิมท่าน้ำแห่งนี้เคยเป็นท่าเรือที่ผู้คนใช้สัญจร แต่ปัจจุบันการจราจรทางบกสะดวกสบายขึ้น ทำให้ท่าน้ำแห่งนี้ลดความสำคัญลงกลายเป็นเพียงท่าส่งสินค้าเท่านั้น นอกจากนี้แล้ว บริเวณตั้งแต่ถนนตกถึงแยกสุรวงศ์ ในพื้นที่แขวงสี่พระยา เขตบางรัก ถือว่าเป็นจุดหนึ่งที่มีการจราจรติดมากที่สุดในกรุงเทพมหานคร (จากการสำรวจในปี พ.ศ. 2559) โดยเฉพาะเวลาเร่งด่วนช่วงเช้า ติดอยู่ในอันดับ 3 มีความเร็วเฉลี่ย 10.6 กม./ชม.
สุสานโปรเตสแตนต์
ระยะทาง: ประมาณ 2325 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.705609,100.506124
สุสานโปรเตสแตนต์ หรือ สุสานฝรั่ง กรุงเทพมหานคร (อังกฤษ: Bangkok Protestant Cemetery) ตั้งอยู่ถัดจากโรงงานยาสูบ 1 ซอยเจริญกรุง 72/5 ถนนเจริญกรุง เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร ริมแม่น้ำเจ้าพระยา มีพื้นที่ประมาณ 7 ไร่ สุสานได้ก่อตั้งขึ้นจากการพระราชทานที่ดินโดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2396 เพื่อใช้เป็นที่ฝังศพของชาวคริสเตียนในสยามขณะนั้น นอกจากนี้ยังประกอบด้วยสุสานชาวยิว อีกประมาณ 2 ไร่ ภายในสุสานในปี พ.ศ.
สะพานทศมราชัน
สะพานในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
ระยะทาง: ประมาณ 1951 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.68201,100.51798
สะพานทศมราชัน (อังกฤษ: Thotsamarachan Bridge, ชื่อเดิม สะพานคู่ขนานสะพานพระราม 9) เป็นสะพานถนนประเภทสะพานขึงข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาในกรุงเทพมหานคร ในเส้นทางของทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกตะวันตก ดูแลโดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เป็นสะพานขึงเสาคู่แห่งแรกของประเทศไทย คู่ขนานด้านท้ายน้ำของสะพานพระราม 9 มีขนาด 8 ช่องจราจร ความกว้างประมาณ 42 เมตร ถือเป็นสะพานข้ามแม่น้ำที่มีความกว้างมากที่สุดในประเทศไทย เพื่อใช้ทดแทนสะพานพระราม 9 ที่จะมีการปิดปรับปรุงภายหลังเปิดการจราจรบนทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกตะวันตกอย่างเต็มรูปแบบ และกระทรวงคมนาคมได้พิจารณาให้เป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2563 แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2566 แต่จะเปิดใช้งานได้หลังจากทางขึ้น-ลงสะพานฝั่งธนบุรีสร้างเสร็จสมบูรณ์ ซึ่งกำหนดไว้ในช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ.
ทางแยกต่างระดับบางโคล่
ระยะทาง: ประมาณ 2920 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.693093,100.526145
ทางแยกต่างระดับบางโคล่ เป็นทางแยกต่างระดับจุดตัดของทางด่วนในประเทศไทย ในพื้นที่แขวงบางโคล่ เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นจุดตัดระหว่างทางพิเศษเฉลิมมหานคร ช่วงท่าเรือ-ดาวคะนอง บริเวณใกล้กับสะพานพระราม 9 และทางพิเศษศรีรัช ส่วน B รวมถึงเชื่อมต่อกับถนนรัชดาภิเษก ต่อมามีการสร้างทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกตะวันตก เชื่อมจากสะพานทศมราชันเข้ามายังทางแยกต่างระดับบางโคล่ด้วย ทำให้เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2565 การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ได้เปลี่ยนแปลงทางแยกจากทางพิเศษเฉลิมมหานครไปยังทางพิเศษศรีรัชฝั่งมุ่งหน้าไปยังถนนแจ้งวัฒนะ โดยให้ใช้ทางแยกใหม่บนทางยกระดับ และปิดทางแยกเดิมที่ระดับดินบริเวณเชิงสะพานไปอย่างถาวรตลอดแนว เพื่อเปิดพื้นที่ให้แนวทางลาดชุดใหม่ของทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกตะวันตก ที่พาดข้ามจากสะพานทศมราชันเข้ามาเชื่อมกับทางพิเศษเฉลิมมหานคร โดยมีผลตั้งแต่เวลา 3:00 น.
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
ฝนเบา ๆ
27 องศาเซลเซียส
27 องศาเซลเซียส
26 องศาเซลเซียส
27 องศาเซลเซียส
1011 hPa
90 %
1011 hPa
1011 hPa
10000 เมตร
3.29 เมตร/วินาที
5.26 เมตร/วินาที
350 ระดับ
100 %
06:14:06
17:49:09