202.28.66.137 - การสืบค้น IP: การสืบค้นที่อยู่ IP ฟรี, การสืบค้นรหัสไปรษณีย์, การสืบค้นตำแหน่ง IP, IP ASN, IP สาธารณะ
ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย:
ASN:
ภาษา:
User-Agent:
Proxy IP:
บัญชีดำ:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
IP2Location
202.28.66.137ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
songkhla
เมือง
songkhla
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Bangkok
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
ภาษา
User-Agent
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
จังหวัดสงขลา
จังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย
ระยะทาง: ประมาณ 4072 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 7.21,100.56
สงขลา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคใต้ตอนล่าง มีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของภาคใต้ (รองจากนครศรีธรรมราช) และมีขนาดพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของภาคใต้ (รองจากสุราษฎร์ธานี และนครศรีธรรมราช) มีจังหวัดที่อยู่ติดกันได้แก่ นครศรีธรรมราช พัทลุง ปัตตานี ยะลา สตูล และยังมีอาณาเขตติดต่อกับรัฐไทรบุรีและรัฐปะลิสของประเทศมาเลเซีย
สะพานติณสูลานนท์
ระยะทาง: ประมาณ 6335 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 7.15444444,100.55916667
สะพานติณสูลานนท์ เป็นสะพานคอนกรีตที่ยาวที่สุดในประเทศไทย อยู่ในอำเภอเมืองสงขลา และอำเภอสิงหนคร โดยเชื่อมเกาะยอ 2 ด้าน ระหว่างฝั่งบ้านน้ำกระจาย อำเภอเมืองสงขลา และบ้านเขาเขียว อำเภอสิงหนคร ความยาวของสะพาน 2 ช่วงแรก 940 เมตร และ 1,700 เมตร ตามลำดับ รวมเป็น 2,640 เมตร ก่อสร้างขึ้นในสมัย ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จุดประสงค์ของการสร้างสะพานแห่งนี้ คือ การรองรับการคมนาคมทางรถยนต์ โดยไม่ต้องรอข้ามแพขนานยนต์ซึ่งมีไม่เพียงพอกับปริมาณรถยนต์ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้การเดินทางต้องใช้เวลานาน ทั้งเมื่อข้ามฝั่งมาแล้วก็ยังทำให้การจราจรติดขัดในตัวเมืองอีกด้วย ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2524 รัฐบาลจึงมีนโยบายจะพัฒนาจังหวัดสงขลา และอำเภอหาดใหญ่ให้เป็นเมืองหลัก โดยกรมทางหลวงเป็นเจ้าของโครงการ และบริษัทจากประเทศไต้หวันเป็นผู้ดำเนินการก่อสร้าง เปิดให้ใช้เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ.
สงขลาอะควาเรี่ยม
ระยะทาง: ประมาณ 3362 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 7.224825,100.57965833
สงขลาอะควาเรี่ยม (อังกฤษ: Songkhla Aquarium) หรือเดิม สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ สงขลา ตั้งอยู่ที่แหลมสนอ่อน อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นแหล่งเรียนรู้ระบบนิเวศวิทยาและจัดแสดงพันธุ์สัตว์น้ำนานาชนิดแห่งแรกของภาคใต้ตอนล่าง โดยเริ่มเปิดให้เข้าชมตั้งแต่วันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2551 ก่อนหน้าพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ ซึ่งสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดำเนินเปิดเมื่อวันที่ 5 มกราคม พ.ศ.
สถานีรถไฟสงขลา
ระยะทาง: ประมาณ 376 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 7.20188611,100.59370833
สถานีรถไฟสงขลา ตั้งอยู่ที่ถนนปละท่า ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นสถานีรถไฟในทางรถไฟสายใต้ (ทางรถไฟสายสงขลา) ยกเลิกการใช้งานไปแล้วตั้งแต่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2521 ปัจจุบันได้ประกาศขึ้นทะเบียนอาคาร สถานที่เป็นโบราณสถานของกรมศิลปากรแล้ว ตั้งแต่ ปี พ.ศ.
เทศบาลเมืองสิงหนคร
เทศบาลเมืองในจังหวัดสงขลา ประเทศไทย
ระยะทาง: ประมาณ 6642 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 7.23888889,100.55055556
เทศบาลเมืองสิงหนคร เป็นเทศบาลเมืองที่ตั้งอยู่ในอำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา เป็นชุมชนเมืองโบราณ เคยเป็นที่ตั้งและเป็นชื่อเมืองสงขลา ในอดีตก่อนที่จะย้ายตัวเมืองสงขลา มาอยู่ด้านตะวันออกของปากอ่าวทะเลสาบสงขลาซึ่งเห็นที่ตั้งของเทศบาลนครสงขลา ในปัจจุบัน โดยกระทรวงมหาดไทยได้ประกาศเปลียนแปลงฐานะเทศบาลตำบลสิงหนครมาเป็นเทศบาลเมืองสิงหนคร และมีผลบังคับใช้แล้ว ตั้งแต่วันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ.
สนามกีฬาติณสูลานนท์
ระยะทาง: ประมาณ 1015 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 7.20722222,100.59861111
สนามกีฬาติณสูลานนท์ เป็นสนามกีฬาในตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา เป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลสงขลา เอฟซี ในอดีตเคยเป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลสงขลา ยูไนเต็ด ในปี พ.ศ. 2541 สนามกีฬาติณสูลานนท์ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นสนามแข่งขันรอบคัดเลือกและนัดชิงที่ 3 ของกีฬาฟุตบอล ในการแข่งขันกีฬาเอเชียนเกมส์ครั้งที่ 13 โดยเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ในนัดชิงที่ 3 หรือรอบชิงเหรียญทองแดง ทีมชาติไทยพบกับทีมชาติจีน ซึ่งทีมชาติไทยแพ้ไป 0-3 โดยมีจำนวนผู้เข้าชมการแข่งขันประมาณ 30,000 กว่าคน ต่อมาในปี พ.ศ.
เทศบาลนครสงขลา
เทศบาลนครในจังหวัดสงขลา ประเทศไทย
ระยะทาง: ประมาณ 832 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 7.20611111,100.59666667
สงขลา เป็นเทศบาลนครที่ตั้งอยู่ในเขตตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา เป็นเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งศาลากลางจังหวัดสงขลา การที่นครสงขลาตั้งอยู่ติดกับชายฝั่งทะเลอ่าวไทย จึงทำให้มีการค้าขายทางพานิชย์นาวีป็นจำนวนมาก
เกาะยอ
ระยะทาง: ประมาณ 6987 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 7.16083333,100.54472222
เกาะยอ เป็นเกาะหนึ่งที่ตั้งอยู่กลางทะเลสาบสงขลาตอนล่าง มีฐานะเป็นตำบลหนึ่งในอำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา ตัวเกาะมีพื้นที่ทั้งหมด 15 ตารางกิโลเมตร หรือ 9,275 ไร่ ประชากรเป็นชาวไทยเชื้อสายจีน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมง
รัฐสุลต่านซิงกอรา
ระยะทาง: ประมาณ 4064 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 7.2235,100.568
รัฐสุลต่านซิงกอรา (มลายู: Kesultanan Singora) ท้องถิ่นออกเสียงว่า เสงคะละ ในเอกสารไทยเรียก เมืองวิไชยคีรี หรือ วิไชยาคิริราช เป็นรัฐเมืองท่าบริเวณปากทะเลสาบสงขลาต่ออ่าวไทย ปัจจุบันตั้งอยู่บริเวณเขตจังหวัดสงขลาของประเทศไทย มีชื่อเสียงจากการเป็นเมืองท่าปลอดภาษี เป็นแหล่งรวมสินค้าจากตะวันออกและตะวันตก รวมทั้งควบคุมเส้นทางเดินเรือภายในทะเลสาบสงขลาและบริเวณอ่าวไทยบางส่วน ทุกวันนี้ยังเหลือร่องรอยของรัฐสุลต่านแห่งนี้เป็นอนุสรณ์ เช่น ป้อมปราการ, สุสานวิลันดา ซึ่งเป็นที่ฝังศพของชาวดัตช์ และสุสานมรหุ่ม ซึ่งเป็นที่ฝังพระศพสุลต่านสุลัยมานชาห์ บริเวณหัวเขาแดง อำเภอสิงหนคร รัฐสุลต่านซิงกอรา หรือเมืองวิไชยคีรี ก่อตั้งโดยดาโต๊ะโมกอล ไม่ทราบชาติพันธุ์มาแต่เดิม แต่คาดว่าน่าจะเป็นโจรสลัดก่อนขึ้นเป็นเจ้าเมือง บางแห่งว่า เป็นชาวมุสลิมเชื้อสายเปอร์เซียหรืออาหรับจากชวา บ้างว่าเป็นแขกมักกะสัน ขณะที่บันทึกของคณะพ่อค้าชาวฝรั่งเศสในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช กล่าวไว้ว่า "...เมื่อปี ค.ศ. 1642 (พ.ศ.
เทศบาลเมืองเขารูปช้าง
เทศบาลเมืองในอำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา ประเทศไทย
ระยะทาง: ประมาณ 3904 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 7.16666667,100.60925
เขารูปช้าง เป็นเทศบาลเมืองซึ่งมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ตำบลเขารูปช้างในอำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา มีลักษณะเป็นเมืองปริมณฑลที่รองรับการขยายตัวของเทศบาลนครสงขลา เพราะตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเทศบาลนครสงขลาโดยมีเพียงคลองสายเล็ก ๆ กั้น เดิมถูกจัดตั้งขึ้นเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลใน พ.ศ. 2538 ต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลตำบลใน พ.ศ. 2550 แล้วจึงยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลเมืองใน พ.ศ.
พิพิธภัณฑ์ธนารักษ์ จังหวัดสงขลา
({{lang-en|Treasury Museum, Songkhla}}) เป็นพิพิธภัณฑ์จัดแสดงนิทรรศการเหรียญกษาปณ์และเงินตราไทย พร้อมกับบอกเล่าเ
ระยะทาง: ประมาณ 753 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 7.20530556,100.59697222
พิพิธภัณฑ์ธนารักษ์ จังหวัดสงขลา (อังกฤษ: Treasury Museum, Songkhla) เป็นพิพิธภัณฑ์จัดแสดงนิทรรศการเหรียญกษาปณ์และเงินตราไทย พร้อมกับบอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ และการใช้เงินตราท้องถิ่นของไทย ควบคู่กับการแสดงเงินตราประเภทต่าง ๆ ที่เคยใช้ในดินแดนภาคใต้ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
โรงพยาบาลสงขลา
ระยะทาง: ประมาณ 7054 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 7.142183,100.56641
โรงพยาบาลสงขลา เป็นหนึ่งในสองโรงพยาบาลหลักของจังหวัดสงขลา ประเทศไทย ที่ดำเนินการโดยกระทรวงสาธารณสุข ส่วนอีกแห่งเป็นโรงพยาบาลหาดใหญ่ที่มีขนาดใหญ่กว่า ซึ่งโรงพยาบาลสงขลาได้รับการจัดอยู่ในประเภทโรงพยาบาลทั่วไปในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยมีศูนย์แพทยศาสตรศึกษาโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท ซึ่งจัดอบรมแพทย์ให้แก่คณะแพทยศาสตร์ของมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ และเป็นโรงพยาบาลในเครือคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
เมฆเป็นหย่อม ๆ
26 องศาเซลเซียส
27 องศาเซลเซียส
26 องศาเซลเซียส
26 องศาเซลเซียส
1010 hPa
79 %
1010 hPa
1009 hPa
10000 เมตร
7.3 เมตร/วินาที
11 เมตร/วินาที
88 ระดับ
71 %