ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
Pacific/Tongatapu
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
Tonga Communications Internet Network
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
นูกูอาโลฟา
ระยะทาง: ประมาณ 826 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: -21.13583333,-175.20888889
นูกูอาโลฟา (ตองงา: Nukuʻalofa) เป็นเมืองหลวง เมืองที่ใหญ่ที่สุดและศูนย์กลางด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ วัฒนธรรมของตองงา กรุงนูกูอาโลฟาตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเกาะโตงาตาปู มีทิศเหนือติดต่อกับมหาสมุทรแปซิฟิก ทิศใต้ติดต่อกับลากูนฟางาอูตา ทิศตะวันตกติดต่อกับพื้นที่นอกกรุงของเขตโกโลโมตูอา และทิศตะวันออกติดต่อกับพื้นที่นอกกรุงของเขตโกโลโฟโออู มีจำนวนประชากรเท่ากับ 23,221 คน หรือเกือบ 1 ใน 4 ของประชากรทั้งประเทศ และหากนับรวมพื้นที่ Greater Nukuʻalofa จะมีจำนวนประชากรเท่ากับ 35,184 คน ด้วยจำนวนและความหนาแน่นของประชากรที่สูง กรุงนูกูอาโลฟาจึงมีสถานะเป็นเมืองโตเดี่ยว และเป็นเขตเมืองเพียงแห่งเดียวของประเทศ ในอดีตพื้นที่นูกูอาโลฟาส่วนใหญ่อยู่ใต้ทะเล มีสภาพเป็นเกาะ ไม่ได้เชื่อมต่อกับเกาะโตงาตาปูในปัจจุบัน มีหลักฐานการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ตั้งแต่ก่อน 800 ปีก่อนคริสตกาล นับตั้งแต่การสถาปนาจักรวรรดิตูอีโตงาเป็นต้นมา นูกูอาโลฟาเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิแห่งนี้ จนกระทั่งในคริสต์ศตวรรษที่ 18 มีชาวยุโรปหลายกลุ่มได้มีโอกาสมาเยี่ยมเยียนนูกูอาโลฟา นูกูอาโลฟาเริ่มมีความสำคัญกับประวัติศาสตร์ตองงาในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 เมื่อกลายเป็นศูนย์กลางอำนาจของตูอิกาโนกูโปลู: 127 พร้อมกับการเป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่ศาสนาคริสต์ในประเทศ: 130 และต่อมากลายเป็นศูนย์กลางการเมืองการปกครองจนถึงปัจจุบันหลังจากที่พระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1 สถาปนาราชอาณาจักรตองงาขึ้น การสถาปนากรุงนูกูอาโลฟาเป็นเมืองหลวงนำไปสู่การพัฒนาระบบสาธารณูปโภคและการก่อสร้างที่ทำการของหน่วยงานภาครัฐที่สำคัญ รวมไปถึงเป็นที่ตั้งของสถานเอกอัครราชทูตทั้งหมดที่มีภารกิจในประเทศตองงา ช่วงระหว่าง ค.ศ.
การจลาจลในนูกูอาโลฟา พ.ศ. 2549
ระยะทาง: ประมาณ 400 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: -21.13333333,-175.2
การจลาจลในนูกูอาโลฟา พ.ศ. 2549 เป็นการจลาจลที่เกิดขึ้นในวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ.
ปาไงโมตู (โตงาตาปู)
ระยะทาง: ประมาณ 4596 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: -21.124183,-175.158855
ปาไงโมตู (ตองงา: Pangaimotu) เป็นเกาะขนาดเล็กในโตงาตาปู ประเทศตองงา ตั้งอยู่ห่างจากกรุงนูกูอาโลฟา เป็นระยะเวลา 10 นาทีเมื่อใช้เรือในการเดินทาง นอกจากชายหาดแล้ว แหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงของปาไงโมตูคือบริเวณที่เรืออับปาง โดยนักท่องเทียวนิยมกระโดดน้ำในบริเวณนั้น นอกจากนี้ปาไงโมตูยังมีแนวปะการัง ซึ่งได้รับการประกาศให้เป็นเขตสงวนทางทะเลแห่งชาติในปี ค.ศ. 1898 ปาไงโมตูยังมีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์คริสต์ศาสนาในตองงา กล่าวคือ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม ค.ศ.
มาลาเอกูลา
ระยะทาง: ประมาณ 310 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: -21.13611111,-175.20388889
มาลาเอกูลา (ตองงา: Malaʻekula หรือ Malaʻe Kula) (จตุรัสแดง) เป็นชื่อเรียกสุสานหลวงกลางกรุงนูกูอาโลฟาในราชอาณาจักรตองงา ประเทศทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก สถานที่แห่งนี้เป็นที่ฝังพระบรมศพของพระมหากษัตริย์ตองงาและพระบรมวงศานุวงศ์ที่ใกล้ชิด (พระราชชายา, พระราชสวามี, พระราชบุตร) ส่วนพระบรมวงศานุวงศ์ที่สืบสายห่างออกไปจากสายหลัก เช่น พระภาดา พระภคินี พระชามาดา เป็นต้น จะได้รับการฝังพระบรมศพในบริเวณอื่น พระมหากษัตริย์ในอดีต เช่น ตูอีโตงา จะได้รับการฝังพระบรมศพในลางีที่เมืองมูอา มาลาเอกูลาตั้งอยู่ทางตอนใต้ของพระราชวังในระยะทางที่ไม่ไกลนักไปตามฮาลาตูอิ (ถนนกษัตริย์) ถนนกษัตริย์เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของถนนเส้นนี้ และจากชื่อก็สื่อถึงว่าเป็นถนนเส้นสุดท้ายที่พระมหากษัตริย์ตองงาทุกพระองค์ได้เดินทางในรัชสมัยของแต่ละพระองค์ เพื่อมุ่งสู่สุสานของพระองค์ที่มาลาเอกูลา ถนนแห่งนี้ยังเป็นที่รู้จักในชื่อฮาลาไปนี (ถนนไพน์) เนื่องจากว่ามีการปลูกต้นสนฉัตร (ต้นไม้หลวงของตองงา) โดยชาวยุโรปตามแนวถนน แต่ปัจจุบันไม่มีปรากฎแล้ว เนื่องจากรากหยั่งลึกถึงน้ำเค็มใต้ดิน สุสานแห่งนี้ได้รับการสถานาเมื่อพระมหากษัตริย์ตองงายุคใหม่พระองค์แรก (พระเจ้าจอร์จ ตูโปอูที่ 1) สวรรคต หลุมฝังพระศพของพระองค์ตั้งอยู่ใจกลางของทุ่ง ซึ่งสามารถมองเห็นได้จากบริเวณพระราชวังไปตามฮาลาตูอิ ศัพท์คำว่า มาลาเอ มีความหมายในภาษาตองงาว่า (หมู่บ้าน)-สีเขียว, สวน, สนามเด็กเล่นและอื่น ๆ แต่ยังเป็นคำราชาศัพท์ของคำว่า สุสาน อีกด้วย ส่วน กูลา มีความหมายว่า สีแดง ที่มาของชื่อเช่นนี้เป็นการระลึกถึงเทศกาลที่มีชื่อเสียงคือ กาโตอางากูลา (ตองงา: kātoanga kula) หรือเทศกาลแดงที่จัดขึ้น ณ ที่แห่งนี้เมื่อ ค.ศ. 1885 เทศกาลดังกล่าวเป็นการระดมเงินทุนสำหรับวิทยาลัยตองงา (ซึ่งมีสีประจำสถาบันเป็นสีชาด เปิดทำการใน ค.ศ.
นูกูเลกา
ระยะทาง: ประมาณ 7178 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: -21.15,-175.13333333
นูกูเลกา (ตองงา: Nukuleka) เป็นหมู่บ้านชาวประมงขนาดเล็กบริเวณชายฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะโตงาตาปู ประเทศตองงา ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2008 เดวิด วี.
ป้อมฮูเล
ระยะทาง: ประมาณ 9268 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: -21.1384,-175.29024167
ป้อมฮูเล เป็นที่มั่นในนูกูนูกูบนเกาะโตงาตาปูในประเทศตองงา ป้อมนี้เป็นสถานที่ที่เกิดการสังหารหมู่ผู้คนทั้งหมดร่วมสามร้อยคนในช่วงสงครามศาสนาเมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 1837 ตูอิวากาโน ผู้ปกครองนูกูนูกูเป็นผู้ครอบครองป้อม ได้เข้ารีตนับถือคริสต์ศาสนา เขาถูกหัวหน้าระดับรองขับไล่ออกไป เขาไปร้องขอความช่วยเหลือจากอาเลอาโมตูอาและเตาฟาอาเฮา ในวันที่ 25 มกราคม ค.ศ.
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
เมฆกระจาย
26 องศาเซลเซียส
26 องศาเซลเซียส
26 องศาเซลเซียส
26 องศาเซลเซียส
1015 hPa
94 %
1015 hPa
1015 hPa
10000 เมตร
6.17 เมตร/วินาที
100 ระดับ
40 %
05:51:32
19:00:12