ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
Europe/Berlin
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
area-7 IT-Services GmbH
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
เบอร์ลินตะวันตก
ระยะทาง: ประมาณ 3020 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.5,13.28
เบอร์ลินตะวันตก (เยอรมัน: Berlin (West) หรือ West-Berlin, เสียงอ่านภาษาเยอรมัน: [ˈvɛstbɛʁˌliːn] ( ฟังเสียง)) เป็นดินแดนแทรกทางการเมืองในเบอร์ลินส่วนตะวันตกเมื่อ ค.ศ. 1948 ถึง 1990 ในช่วงสงครามเย็น แม้ว่าเบอร์ลินตะวันตกไม่มีอำนาจอธิปไตย และอยู่ภายใต้การครอบครองของทหารจนกระทั่งการรวมประเทศเยอรมนีใน ค.ศ. 1990 ดินแดนนี้อ้างสิทธิ์โดยสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (เยอรมนีตะวันตก) แม้ว่าจะถูกล้อมรอบด้วยสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (เยอรมนีตะวันออก) ความถูกต้องตามกฎหมายของการอ้างสิทธิ์นี้ถูกโต้แย้งจากสหภาพโซเวียตกับประเทศกลุ่มตะวันออกอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม ในทางการเมือง เบอร์ลินตะวันตกจัดตนเองเข้ากับเยอรมนีตะวันตกโดยพฤตินัยตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ค.ศ.
กำแพงเบอร์ลิน
ระยะทาง: ประมาณ 4243 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.516,13.377
กำแพงเบอร์ลิน (อังกฤษ: Berlin Wall; เยอรมัน: Berliner Mauer) เป็นกำแพงที่สร้างขึ้นช่วงสงครามเย็น มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้นพรมแดนระหว่างเบอร์ลินตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีตะวันตก กับเยอรมนีตะวันออกที่โอบอยู่โดยรอบ มีความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) และปิดกั้นพรมแดนนี้เป็นระยะเวลา 28 ปี ก่อนถูกทลายในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.
มหาวิทยาลัยศิลปะเบอร์ลิน
ระยะทาง: ประมาณ 1457 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.50805556,13.33111111
มหาวิทยาลัยศิลปะเบอร์ลิน (เยอรมัน: Universität der Künste Berlin - UdK) หรือ "อูเดคา" เป็นมหาวิทยาลัยในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ก่อตั้งเมื่อ ค.ศ. 1975 โดยการควบรวมโรงเรียนวิจิตรศิลป์เบอร์ลิน (Staatlichen Hochschule für Bildende Künste) และโรงเรียนดนตรีและศิลปะการแสดงเบอร์ลิน (Staatlichen Hochschule für Musik und Darstellende Kunst) เข้าด้วยกัน ประวัติของมันย้อนกลับไปถึงสมัยการก่อตั้ง Akademie der Künste ใน ค.ศ.
แม่น้ำชเปร
ระยะทาง: ประมาณ 3754 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.51944444,13.36333333
ชเปร (เยอรมัน: Spree; ซอร์บ: Sprowja หรือ Sprewja) เป็นแม่น้ำในรัฐแซกโซนี รัฐบรันเดินบวร์ค และรัฐเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ชเปรเป็นสาขาด้านซ้ายของแม่น้ำฮาเฟิล มีความยาวประมาณ 400 ก.ม.
ผมเป็นชาวเบอร์ลิน
ระยะทาง: ประมาณ 1830 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.484932,13.344395
"อิช บิน ไอน์ แบร์ลีแนร์" (เยอรมัน: Ich bin ein Berliner, "ผมเป็นชาวเบอร์ลิน") เป็นตอนหนึ่งของสุนทรพจน์โดยประธานาธิบดีสหรัฐ จอห์น เอฟ. เคนเนดี ในเบอร์ลินตะวันตก เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2506 โดยเขาได้เน้นถึงความสำคัญของการสนับสนุนจากสหรัฐอเมริกาที่มีต่อเยอรมนีตะวันตกเป็นเวลา 22 เดือนหลังจากเยอรมนีตะวันออกที่ได้รับการสนับสนุนจากสหภาพโซเวียต ตั้งกำแพงเบอร์ลินขึ้นกั้นการเคลื่อนไหวระหว่างเยอรมนีตะวันออกและตะวันตก สุนทรพจน์ดังกล่าวได้รับการพิจารณาว่าเป็นหนึ่งในสุนทรพจน์ที่ดีที่สุดของเคนเนดี และเป็นช่วงที่สำคัญของสงครามเย็น นอกจากนี้ ยังเป็นการสร้างขวัญกำลังใจใหญ่หลวงแก่ชาวเบอร์ลินตะวันตก ผู้ซึ่งอาศัยอยู่ในดินแดนลึกเข้าไปในเยอรมนีตะวันออกและหวาดกลัวความเป็นไปได้ว่าจะถูกยึดครองจากเยอรมนีตะวันออก บางรายงานกล่าวว่าเคนเนดีนึกถึงวลีดังกล่าวได้ในช่วงสุดท้าย เช่นเดียวกับความคิดที่จะกล่าวเป็นภาษาเยอรมัน เคนเนดีได้ถามล่ามของเขา โรเบิร์ช เอช.
ศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์เบอร์ลิน
ระยะทาง: ประมาณ 3074 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.50638889,13.36583333
ศูนย์วิจัยสังคมศาสตร์เบอร์ลิน (เยอรมัน: Wissenschaftszentrum Berlin für Sozialforschung หรือย่อว่า WZB) เป็นสถาบันวิจัยที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ ในด้านสังคมศาสตร์ แต่สถาบันประเภทนี้ที่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป ศูนย์วิจัยก่อตั้งใน ค.ศ.
โบสถ์อนุสรณ์ไคเซอร์วิลเฮ็ล์ม
ระยะทาง: ประมาณ 1276 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.505,13.335
โบสถ์อนุสรณ์ไคเซอร์วิลเฮ็ล์ม (เยอรมัน: Kaiser-Wilhelm-Gedächtniskirche) ตั้งอยู่ในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ตัวโบสถ์เดิมนั้นสร้างในคริสต์ทศวรรษ 1890 อย่างไรก็ตาม ตัวโบสถ์ถูกทำลายอย่างรุนแรงในการโจมตีทิ้งระเบิดใน ค.ศ. 1943 ตัวโบสถ์ปัจจุบันจึงเหลือเพียงห้องโถงและหอระฆัง และมีการต่อเติมหอสวดมนต์ระหว่าง ค.ศ.
เหตุโจมตีในเบอร์ลิน พ.ศ. 2559
ระยะทาง: ประมาณ 1333 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.505,13.33638889
เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2559 เวลาประมาณ 20:00 น. ตามเวลายุโรปกลาง (02:00 น.
อนุสรณ์สถานแด่ชาวยิวผู้ถูกสังหารในยุโรป
ระยะทาง: ประมาณ 4235 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.51388889,13.37888889
อนุสรณ์สถานชาวยิวผู้ถูกสังหารในยุโรป (อังกฤษ: Memorial to the Murdered Jews of Europe, เยอรมัน: Denkmal für die ermordeten Juden Europas) หรือ อนุสรณ์สถานฮอโลคอสต์ (เยอรมัน: Holocaust-Mahnmal) เป็นอนุสรณ์สถานในเบอร์ลินที่ระลึกถึงเหยื่อชาวยิวจากฮอโลคอสต์ ผลงานออกแบบโดย ปีเตอร์ ไอเซนมัน และ บูโร ฮัพโพลด์ มีขนาดพื้นที่รวม 19,000-ตารางเมตร (200,000-ตารางฟุต) ซึ่งเต็มไปด้วยแผ่นคอนกรีต 2,711 ชิ้นที่วางเรียกกันเป็นรูปแบบกริด บนลานซึ่งมีความชัน แปลนเดิมตั้งใจจะสร้างแผ่นคอนกรีตรวม 4,000 แผ่น แต่หลังการคำนวณใหม่เพื่อให้เข้ากันได้กับกฎหมาย ปริมาณสูงสุดที่จะสร้างแผ่นคอนกรีตได้คือ 2,711 แผ่น แผ่นคอนกรีตเหล่านี้เรียกว่า สเตเล (stelae) และแต่ละแผ่นมีความขาว 2.38 m (7 ft 9 1⁄2 in) กว้าง 0.95 m (3 ft 1 1⁄2 in) และมีความสูงต่างกันไประหว่าง 0.2 ถึง 4.7 เมตร (8 นิ้ว ถึง 15 ฟุต 5 นิ้ว) วางเรียงกันเป็นแถวรวม 54 แถวจากเหนือจรดใต้ และ 87 แถวในทิศตะวันออกจรดตะวันตก ทำมุมฉากกันแต่เอียงเล็กน้อย ใต้ดินของอนุสรณ์สถานเป็น "สถานข้อมูล" (เยอรมัน: Ort der Information) ซึ่งแสดงรายชื่อชาวยิวราวสามล้านคนที่ถูกสังหารในฮอโลคอสต์ ซึ่งได้รับมาจากยัดวาเชมในอิสราเอล
เสาแห่งชัยชนะ เบอร์ลิน
อนุสรณ์ในกรุงเบอร์ลินที่สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงชัยชนะของปรัสเซียในสงครามชเลสวิชครั้งที
ระยะทาง: ประมาณ 2731 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.51444444,13.35
เสาแห่งชัยชนะ (อังกฤษ: Victory Column) หรือ ซีกเกอซ็อยเลอ (เยอรมัน: , จาก Sieg ‘ชัยชนะ’ + Säule ‘เสา’) เป็นอนุสรณ์ในเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ผลงานออกแบบโดยไฮน์ริช สตาร์ค หลังปี 1864 เพื่อระลึกถึงชัยชนะของปรัสเซียในสงครามชเลสวิชครั้งที่สอง ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์อนุสรณ์เมื่อวันที่ 2 กันยายน 1873 แต่ในเวลานั้น ปรัสเซียสามารถเอาชนะออสเตรียและบรรดาพันธมิตรเยอรมันในสงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย (1866) และ ฝรั่งเศสในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย (1870–71) ทำให้อนุสรณ์นี้มีเป้าหมายเพิ่มเติมอีก ชัยชนะเพิ่มเติมในสงครามรวมชาติเยอรมนีได้นำไปสู่การเพิ่มเติมประติมากรรมทองสัมฤทธิ์ของเทพีวิกตอเรีย เทพีแห่งชัยชนะของโรมัน ขึ้นบนยอดของเสาจากแปลนเดิม ประติมากรรมนี้มีความสูง 8.3 เมตร (27 ฟุต) และออกแบบโดย ฟรีดริช ดราเกอ
เคียร์เชออัมโฮเอินท์ซ็อลเลิร์นพลัทซ์
ระยะทาง: ประมาณ 267 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.494143,13.326995
เคียร์เชออัมโฮเอินท์ซ็อลเลิร์นพลัทซ์ (เยอรมัน: Kirche am Hohenzollernplatz) เป็นโบสถ์คริสต์ธรรมอักษรของคณะโฮเอินท์ซ็อลเลิร์นพลัทซ์ สมาชิกใต้ร่มของคริสตจักรธรรมอักษรเบอร์ลิน-บรันเดินบวร์ค-อัปเปอร์ลูเซเชียไซลีเชีย ตั้งอยู่ทางตะวันออกของโฮเอินท์ซ็อลเลิร์นพลัทซ์ ในย่านวิลเมิร์สดอร์ฟ ในเขตชาร์ล็อทเทินบวร์ค-วิลเมิร์สดอร์ฟ กรุงเบอร์ลิน อาคารนี้ได้รับการยอมรับว่าเป็นตัวอย่างชิ้นสำคัญของลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ใช้อิฐ และเป็นชิ้นงานสำคัญของสถาปัตยกรรมโบสถ์แบบลัทธิสำแดงพลังอารมณ์อันโดดเด่นของเบอร์ลิน ชื่อของโบสถ์ซึ่งตั้งชื่อว่าเป็นโบสถ์ที่ตั้งอยู่บนจัตุรัสนั้นเป็นชื่อชั่วคราว กระนั้นชื่อนี้กลับคงอยู่ แม้จะมีข้อถกเถียงการตั้งชื่อ
น็อลเลินดอร์ฟพลัทซ์ (สถานีรถไฟใต้ดินเบอร์ลิน)
ระยะทาง: ประมาณ 2062 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.49916667,13.35388889
โนลเลินดอร์ฟพลัทซ์ (เยอรมัน: Nollendorfplatz) เป็นสถานีรถไฟใต้ดินเบอร์ลิน (อู-บาน) บนสาย U1, U2, U3 และ U4 สถานีเปิดให้บริการในปี 1902 และปัจจุบันเป็นสถานีเดียวในเบอร์ลินที่มีสายรถไฟใต้ดินให้บริการสี่สาย และเป็นสถานีเดียวที่ทุกสายของ ไคลน์โพรฟิล (Kleinprofil)
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
ท้องฟ้าแจ่มใส
7 องศาเซลเซียส
6 องศาเซลเซียส
6 องศาเซลเซียส
8 องศาเซลเซียส
1026 hPa
90 %
1026 hPa
1021 hPa
10000 เมตร
1.79 เมตร/วินาที
2.68 เมตร/วินาที
286 ระดับ
07:10:45
16:29:51