ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
Europe/London
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
Daisy Corporate Services Trading Ltd
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
สถานีควีนสเวย์
ระยะทาง: ประมาณ 7957 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 51.51044444,-0.18722222
สถานีควีนสเวย์ (อังกฤษ: Queensway tube station) เป็นสถานีหนึ่งของรถไฟใต้ดินลอนดอนซึ่งตั้งอยู่บนจุดเชื่อมต่อระหว่างควีนสเวย์และถนนเบยส์วอเตอร์ และอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจากสวนเคนซิงตัน สถานีนี้อยู่ระหว่างสถานีนอตติงฮิลล์เกตและสถานีแลงคาสเตอร์เกตบนสายเซ็นทรัล และอยู่ในเขต 1
สนามกีฬาเวมบลีย์
สนามกีฬาในอังกฤษ
ระยะทาง: ประมาณ 5097 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 51.55583333,-0.27972222
สนามกีฬาเวมบลีย์ (อังกฤษ: Wembley Stadium มักเรียกสั้น ๆ ว่า เวมบลีย์ หรือในบางครั้งเรียกว่า นิวเวมบลีย์ เพื่อให้มีชื่อต่างจากสนามเดิมในที่ตั้งนี้) เป็นสนามฟุตบอลที่ตั้งอยู่ในเวมบลีย์พาร์ก ในเบรนต์ ประเทศอังกฤษ เปิดเมื่อปี 2007 ในสถานที่ตั้งเดิมของสนามเดิมที่สร้างในปี ค.ศ.
สนามกีฬาสแตมฟอร์ดบริดจ์
ระยะทาง: ประมาณ 8406 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 51.48166667,-0.19111111
สแตมฟอร์ดบริดจ์ (อังกฤษ: Stamford Bridge) เป็นสนามฟุตบอลในเขตฟูลัม ติดกับเขตเชลซีในลอนดอนตะวันตก เป็นสนามเหย้าของเชลซี ด้วยความจุ 40,341 ที่นั่ง เป็นสนามฟุตบอลที่ใหญ่เป็นอันดับ 9 ของพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2022–23 และเป็นสนามฟุตบอลที่ใหญ่เป็นอันดับ 11 ในอังกฤษ เปิดใช้ในปี ค.ศ. 1877 สนามถูกใช้โดยสโมสรกีฬาลอนดอนจนถึงปี ค.ศ. 1905 เมื่อเจ้าของคนใหม่คือ กัส เมียร์ส ก่อตั้งสโมสรฟุตบอลเชลซีเพื่อครอบครองสนาม เชลซีเล่นเกมเหย้าที่นั่นตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา สนามมีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา โดยล่าสุดในช่วงทศวรรษที่ 1990 ได้มีการปรับปรุงให้เป็นสนามฟุตบอลที่ทันสมัยแบบมีที่นั่งทั้งหมด สแตมฟอร์ด บริดจ์เคยเป็นสนามฟุตบอลสำหรับแมตช์ทีมชาติของทีมชาติอังกฤษ, เอฟเอ คัพ รอบชิงชนะเลิศ, เอฟเอ คัพ รอบรองชนะเลิศ และเกมแชริตี้ ชิลด์ จำนวนผู้ชมสูงสุดอย่างเป็นทางการของสนามคือ 82,905 คน เป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกดิวิชั่น 1 ระหว่างเชลซีและอาร์เซนอลเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม ค.ศ.
ลอฟตัสโรด
ระยะทาง: ประมาณ 4849 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 51.50916667,-0.23222222
ลอฟตัสโรด เป็นสนามฟุตบอล ตั้งอยู่ที่เชพเพิดซ์บุช ในลอนดอน ซึ่งก่อนหน้านี้ได้เป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลเชปเฟิร์ดบุช หลังจากนั้น ค.ศ. 1917 ได้มีการอนุญาตให้สโมสรควีนส์ปาร์คเรนเจอร์สใช้งานสนามนี้ ซึ่งสแตนด์นั่งชมแต่ละฝั่งก็มีชื่อเฉพาะตัวอีกด้วย ทีมจากรักบี้ ยูเนียน คือ ลอนดอนวาสพ์ส ได้เข้ามาใช้งานร่วมกัน ควีนส์ปาร์คเรนเจอร์ส หลังจากนั้นในปี ค.ศ.
เครเวนคอตทิจ
ระยะทาง: ประมาณ 6941 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 51.475,-0.22166667
เครเวนคอตทิจ (อังกฤษ: Craven Cottage) เป็นสนามฟุตบอลตั้งอยู่ที่ย่านฟูลัม กรุงลอนดอน และเป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลฟูลัมตั้งแต่ ค.ศ.
สนามกีฬาเวมบลีย์ (1923)
ระยะทาง: ประมาณ 5068 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 51.55555556,-0.27972222
สนามกีฬาเวมบลีย์ (อังกฤษ: Wembley Stadium) ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร เริ่มก่อสร้างในปี ค.ศ. 1922 แล้วเสร็จในปี ค.ศ. 1923 ซึ่งเป็นสนามกีฬาขนาดใหญ่อันดับที่ 1 ของอังกฤษ ในปี ค.ศ.
โรงเรียนแฮร์โรว์
ระยะทาง: ประมาณ 7090 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 51.5725,-0.335
โรงเรียนแฮร์โรว์ (อังกฤษ: Harrow School) โรงเรียนของรัฐสำหรับเด็กชายที่ตั้งอยู่ในย่าน แฮร์โรว์ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2215 โดย จอห์น ลีออง เจ้าของที่ดินผู้ร่ำรวยโดยได้รับพระบรมราชานุญาตจาก สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 โรงเรียนแห่งนี้เป็นสถานศึกษาของบุคคลที่มีชื่อเสียงจากหลากหลายวงการทั่วโลกและในบรรดาศิษย์เก่าจำนวนมากของโรงเรียนมีเชื้อพระวงศ์จากประเทศไทยถึง 3 พระองค์ที่ได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนแห่งนี้คือ จอมพลเรือ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก, พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ และ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต ในปัจจุบันโรงเรียนแฮร์โรว์ได้เปิดสาขาของโรงเรียนในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.
การล้อมสถานทูตอิหร่าน
การล้อมที่เกิดขึ้นตั้งแต่ 30 เมษายนถึง 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1980
ระยะทาง: ประมาณ 9075 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 51.50152778,-0.17219444
การล้อมสถานทูตอิหร่าน (อังกฤษ: Iranian Embassy siege) เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ 30 เมษายนถึง 5 พฤษภาคม ค.ศ. 1980 หลังจากกลุ่มชายติดอาวุธหกคนบุกโจมตีสถานทูตอิหร่านที่พรินซ์เกตในเซาท์เคนซิงตัน ลอนดอน มือปืนชาวอาหรับเชื้อสายอิหร่านที่รณรงค์เพื่ออำนาจอธิปไตยจังหวัดฆูเซสถานได้จับ 26 คนเป็นตัวประกัน ได้แก่เจ้าหน้าที่สถานทูต, อาคันตุกะหลายคน และเจ้าหน้าที่ตำรวจที่คอยคุ้มกันสถานทูต พวกเขาเรียกร้องให้ปล่อยตัวนักโทษในฆูเซสถานและทางที่ปลอดภัยของพวกเขาเองออกจากสหราชอาณาจักร รัฐบาลอังกฤษได้ตัดสินใจอย่างรวดเร็วว่าจะไม่ให้ทางผ่านอย่างปลอดภัยและเกิดการปิดล้อมตามมา ต่อจากนั้น ผู้เจรจาของตำรวจได้ปล่อยตัวตัวประกันห้าคนเพื่อแลกกับข้อยินยอมเล็กน้อย เช่น การแพร่ภาพความต้องการของผู้จับตัวประกันทางโทรทัศน์ของอังกฤษ เมื่อถึงวันที่หกของการปิดล้อมเหล่ามือปืนต่างรู้สึกหงุดหงิดมากขึ้นที่ไม่มีความคืบหน้าในการปฏิบัติตามข้อเรียกร้องของพวกเขา เย็นวันนั้นเอง พวกเขาได้ฆ่าตัวประกันและโยนศพออกจากสถานทูต จนในที่สุด หน่วยปฏิบัติการพิเศษทางอากาศ (SAS) ซึ่งเป็นหน่วยรบพิเศษของกองทัพบกสหราชอาณาจักร ได้ริเริ่ม "ปฏิบัติการนิมรอด" เพื่อช่วยเหลือตัวประกันที่เหลือ โดยการโรยตัวจากหลังคาและใช้กำลังเข้าทางหน้าต่าง ในระหว่างการล้อม 17 นาทีพวกเขาได้ช่วยตัวประกันที่เหลือทั้งหมดยกเว้นหนึ่งในตัวประกัน และได้สังหารผู้จับตัวประกันห้าในหกคน การไต่สวนการกระทำผิดใด ๆ ของหน่วยปฏิบัติการพิเศษทางอากาศได้รับการเคลียร์ โดยมือปืนที่เหลือเพียงคนเดียวติดคุก 27 ปีในเรือนจำอังกฤษ สงครามอิรัก–อิหร่าน ได้เกิดขึ้นในปลายปีนั้น และวิกฤตการณ์ตัวประกันในเตหะรานยังคงดำเนินต่อไปจนถึงเดือนมกราคม ค.ศ. 1981 อย่างไรก็ตาม ปฏิบัติการดังกล่าวได้นำหน่วยปฏิบัติการพิเศษทางอากาศออกสู่สายตาสาธารณชนเป็นครั้งแรก รวมถึงได้สนับสนุนชื่อเสียงของรัฐบาลแทตเชอร์ หน่วยปฏิบัติการพิเศษทางอากาศได้รับการแสดงความจำนงจากผู้คนอย่างล้นหลามที่ได้รับแรงบันดาลใจจากปฏิบัติการ และความต้องการความเชี่ยวชาญจากรัฐบาลต่างประเทศมากขึ้น อาคารที่ได้รับความเสียหายจากไฟไหม้ระหว่างการจู่โจมไม่ได้เปิดใหม่จนถึงปี ค.ศ.
รอยัลโบโรออฟเคนซิงทันแอนด์เชลซี
ระยะทาง: ประมาณ 7881 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 51.5,-0.19
รอยัลโบโรออฟเคนซิงทันแอนด์เชลซี (อังกฤษ: Royal Borough of Kensington and Chelsea; RBKC) เป็นลอนดอนโบโรในลอนดอนชั้นในที่มีสถานะเป็นรอยัลโบโร เป็นโบโรที่มีพื้นที่เล็กที่สุดในลอนดอนและเป็นอำเภอที่มีพื้นที่เล็กที่สุดอันดับสองของประเทศอังกฤษ ในรอยัลโบโรนี้ประกอบด้วยพื้นที่ที่มั่งคั่งมาก ทั้งนอททิงฮิลล์, เคนซิงทัน, เซาธ์เคนซิงทัน, เชลซี และ ไนตสบริดจ์
อีลิง
ระยะทาง: ประมาณ 631 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 51.5175,-0.2988
อีลิง (อังกฤษ: Ealing; ) เป็นย่านในลอนดอนตะวันตก ประเทศอังกฤษ ตั้งอยู่ราว 7.5 ไมล์ (12.1 กิโลเมตร) ทางตะวันตกของชาริงครอสส์ และเป็นหนึ่งในทาวน์หลักเจ็ดทาวน์ของลอนดอนโบโรออฟอีลิง (ที่เหลือคือ แอคเทิน, กรีนฟอร์ด, ฮันเวลล์, นอร์ธอลท์, เพริเวล และ เซาธอลล์) รหัสไปรษณีย์ของอีลิงคือ W5 ถึง W13 และเป็นศูนย์กลางการบริหารของโบโร และมีรายชื่อเป็นจุดนครหลักในผังเมืองลอนดอน
พิพิธภัณฑ์บ้านเลทัน
ระยะทาง: ประมาณ 7022 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 51.49858056,-0.20308889
พิพิธภัณฑ์บ้านเลทัน (อังกฤษ: Leighton House Museum) เป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะในย่านฮอลแลนด์พาร์ก รอยัลโบโรออฟเคนซิงตันแอนด์เชลซี ในลอนดอน
พิพิธภัณฑ์วิกตอเรียแอนด์อัลเบิร์ต
ระยะทาง: ประมาณ 9185 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 51.49638889,-0.17194444
พิพิธภัณฑ์วิกตอเรียแอนด์อัลเบิร์ต (อังกฤษ: Victoria and Albert Museum; V&A) เป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะในลอนดอน และเป็นพิพิธภัณฑ์ด้านศิลปะประยุกต์, ศิลปะเพื่อการตกแต่ง และ การออกแบบ ที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีของสะสมเป็นการถาวรมากกว่า 2.27 ล้านชิ้น พิพิธภัณฑ์สถาปนาขึ้นในปี 1852 และตั้งชื่อตามราชินีวิกตอเรีย และ เจ้าชายอัลเบิร์ต
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
หมอก
10 องศาเซลเซียส
10 องศาเซลเซียส
8 องศาเซลเซียส
11 องศาเซลเซียส
1021 hPa
90 %
1021 hPa
1017 hPa
5000 เมตร
1.03 เมตร/วินาที
190 ระดับ
100 %
07:02:20
16:27:16