182.50.65.229 - การสืบค้น IP: การสืบค้นที่อยู่ IP ฟรี, การสืบค้นรหัสไปรษณีย์, การสืบค้นตำแหน่ง IP, IP ASN, IP สาธารณะ
ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Kathmandu
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
Broadlink Nepal
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
IP2Location
182.50.65.229ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
bagmati
เมือง
kirtipur
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Kathmandu
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
ภาษา
User-Agent
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
กาฐมาณฑุ
ระยะทาง: ประมาณ 6332 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.7172,85.324
กาฐมาณฑุ [กาด-มาน-ดุ] (อักษรโรมัน: Kathmandu ) หรือชื่อทางการ กาฐมาณฑุมหานครปาลิกา เป็นเมืองหลวงและเมืองที่มีประชากรมากสุดของประเทศเนปาล มีประชากร 845,767 คนตามสำมะโนปี ค.ศ. 2021 และมีประชากรถึง 2.9 ล้านคนหากรวมเขตปริมณฑล กาฐมาณฑุตั้งอยู่ในหุบเขากาฐมาณฑุในเนปาลกลาง ที่ความสูง 1,400 เมตร (4,600 ฟุต) จากระดับน้ำทะเล กาฐมาณฑุเป็นหนึ่งในสถานที่ที่มีการอยู่อาศัยต่อเนื่องยาวนานที่สุด ตั้งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และมีชื่อเรียกในสมัยโบราณว่า "เนปาลมณฑล" เป็นที่อยู่อาศัยของชาวเนวาร์ ซึ่งเป็นอารยธรรมของชนเชิงเขาหิมาลัย กาฐมาณฑุมีสถานะเป็นราชธานีของราชอาณาจักรเนปาลและเป็นที่ตั้งของพระราชวังและอุทยานหลวงที่สร้างขึ้นโดยพระบรมวงศานุวงศ์ของเนปาล กาฐมาณฑุยังเป็นที่ตั้งของศูนย์กลางสำหรับสมาคมเอเชียใต้เพื่อความร่วมมือระดับภูมิภาค (SAARC) มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1985 ในปัจจุบัน กาฐมาณฑุเป็นเมืองหลวงของประเทศเนปาล ประชากรของกาฐมาณฑุมีวัฒนธรรมที่ผสมผสานทั้งฮินดูและพุทธ การท่องเที่ยวจัดเป็นธุรกิจสำคัญหนึ่งของกาฐมาณฑุ ข้อมูลจากปี ค.ศ.
ปาฏัน
ระยะทาง: ประมาณ 4318 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.66666667,85.31666667
ปาฏัน (สันสกฤต: पाटन Pātan) หรือ ยละ (เนวาร์: यल Yala) หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า มหานครลลิตปุร (เนปาล: ललितपुर महानगरपालिका) เป็นหนึ่งในเมืองหลักของประเทศเนปาล ตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางใต้ของหุบเขากาฐมาณฑุ ปาฏันถือเป็นนครที่รุ่มรวยด้วยมรดกด้วยศิลปะและวัฒนธรรมเป็นที่สุด จากการสำรวจสำมะโนครัวประชากรเมื่อปี พ.ศ.
จัตุรัสกาฐมาณฑุดูร์บาร์
ระยะทาง: ประมาณ 4115 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.704075,85.30708333
จัตุรัสกาฐมาณฑุดูร์บาร์ (อังกฤษ: Kathmandu Durbar Square) หรือชื่อสันสกฤตว่า วสันตปุรทรวารเกษตร (สันสกฤต: वसन्तपुर दरवार क्षेत्र) หน้าพระราชวังเก่าของอดีตราชอาณาจักรกาฐมาณฑุ เป็นหนึ่งในสามจัตุรัสดูร์บาร์ในหุบเขากาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล ทั้งหมดเป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก
กาษฐมณฑป
ระยะทาง: ประมาณ 4017 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.704,85.30583
กาษฐมณฑป (เนปาล: काष्ठमण्डप) หรือ มรุ สตะ (เนวาร์: मरु सत:) เป็นอาคารไม้หลังหนึ่งสำหรับใช้เป็นที่พักสาธารณะ จำนวนชั้นสามชั้น ภายในมีศาลเจ้าอุทิศให้โยคีโครัขนาถ ตั้งอยู่ในย่านมรุ กรุงกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล หลังเหตุแผ่นดินไหวเมื่อ พ.ศ.
โรงพยาบาลพีระ
ระยะทาง: ประมาณ 4685 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.705053,85.313608
โรงพยาบาลพีระ (เนปาล: बीर अस्पताल; Bir Hospital) เป็นโรงพยาบาลที่เก่าแก่ที่สุดและมีผู้ใช้บริการมากที่สุดในประเทศเนปาล ตั้งอยู่ที่ใจกลางกาฐมาณฑุ โรงพยาบาลอยู่ภายใต้การดำเนินงานโดยสถาบันวิทยาศาสตร์การแพทย์แห่งชาติของรัฐบาลเนปาล มาตั้งแต่ปี 2003 โรงพยาบาลยังเป็นโรงพยาบาลสอนสำหรับสาขาเฉพาะทางทางการแพทย์ เช่น ศัลยศาสตร์ทั่วไป อายุรศาสตร์ เป็นต้น
รานีโปขรี
ระยะทาง: ประมาณ 5018 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.707847,85.315447
รานีโปขรี (เนปาล: रानी पोखरी, Rani Pokhari; แปล: บ่อน้ำราชินี) หรือชื่อเดิม นฺหูปุขู (เนวาร์: न्हू पुखू, Nhu Pukhu; แปล: บ่อน้ำใหม่) เป็นบ่อน้ำเก่าแก่ที่มนุษย์สร้างขึ้นในใจกลางนครกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล บ่อน้ำมีแปลนเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สร้างขึ้นในศตวรรษที่ 17 บนขอบตะวันออกของนครกาฐมาณฑุในเวลานั้น ตั้งอยู่ติดกับนอกประตูเมืองเก่าพอดี บ่อน้ำรานีโปขรีมีความสำคัญทั้งทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม และมีขนาด 180 คูณ 140 เมตร รานีโปขรีสร้างขึ้นในปี 1670 โดยกษัตริย์ปรตาป มัลละ แห่งราชวงศ์มัลละ เพื่อปลอบขวัญราชินีผู้ซึ่งกำลังเศร้าโศกจากการสูญเสียบุตรชายไปในอุบัติเหตุโดนช้างเหยียบเสียชีวิต น้ำในบ่อนี้กษัตริย์ปรตาปได้ดำริให้นำน้ำจากแหล่งน้ำและจุดบรรจบของแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ทั่วเนปาลและอินเดีย เช่นจากโคไสกูณฑ์, มุกตินาถ, พทรินาถ, เกทารนาถ มาเทรวมกันไว้ ใจกลางของบ่อน้ำเป็นโบสถ์พราหมณ์บูชาพระมาตริเกศวรมหาเทวะ (Matrikeshwor Mahadev) ปางอวตารหนึ่งของพระศิวะ นอกจากนี้ภายในยังประดิษฐานเทวรูปของพระหริศังการี (Harishankari) ซึ่งว่ากันว่าเป็นพระลักษมีและพระสรัสวดีรวมในองค์เดียวกัน ชายฝั่งของบ่อทางทิศใต้มีรูปสลักช้าง และบนหลังช้างเป็นรูปปั้นของกษัตริย์ปรตาป มัลละ และบุตรชายทั้งสอง จักรวรรเตนทระ มัลละ (Chakravartendra Malla) กับ มหิปเตนทระ มัลละ (Mahipatendra Malla) กำลังขี่ช้างอยู่ น้ำในบ่อถูกเติมให้เต็มอยู่ตลอดผ่านช่องทางไหลของน้ำจากใต้ดิน และในบ่อยังมีบ่อน้ำ (well) อีกเจ็ดบ่อภายใน ที่มุมทั้งสี่ของบ่อน้ำยังมีมนเทียรย่อม ๆ อีกสี่หลัง ได้แก่โบสถ์พระไภรวะทางตะวันตกเฉียงเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ, โบสถ์พระมหาลักษมีทางตะวันออกเฉียงใต้ และโบสถ์พระคเณศทางตะวันตกเฉียงใต้ โบสถ์ทางตะวันออกทั้งสองหลังในปัจจุบันอยู่ภายในพื้นที่ของวิทยาลัยตริจันทระ นอกจากนี้ ในระหว่างการขุดค้นเมื่อปี 2020 ยังพบว่าที่มุมทั้งสี่ของบ่อมีธุงเคธาราอยู่ โดยปกติ รานีโปขรีจะถูกล้อมด้วยรั้วเหล็กและเปิดให้เข้าภายในเพียงปีละครั้งในวันภาอีตีกา (Bhai Tika) วันสุดท้ายของเทศกาลติหาร และเทศกาล ฉัฐ ที่ซึ่งมีการเฉลิมฉลองเทศกาลยิ่งใหญ่ที่สุดอยู่ที่นี่ หลังเหตุแผ่นดินไหวเนปาลปี 2015 ได้มีการก่อสร้างรานีโปขรีขึ้นใหม่ในเดือนมกราคม 2016 ที่ซึ่งแปลนเดิมจะใช้คอนเกรีตในการก่อสร้างแทนที่การก่ออิฐประกอบดินเหนียวแบบธรรมเนียม รวมถึงยังมีแผนจะสร้างร้านกาแฟริมบ่อน้ำ แผนการก่อสร้างใหม่นี้ถูกคัดค้านอย่างหนัก และมีการประท้วงโดยคนท้องถิ่นหลายครั้งจนท้ายที่สุดจึงแก้ไขแผลนการก่อสร้างบ่อน้ำใหม่ให้เป็นตามดังเดิม การซ่อมแซมบ่อน้ำจึงแล้วเสร็จในเดือนตุลาคม ค.ศ.
หนุมานโฒกา
ระยะทาง: ประมาณ 4155 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.7042,85.3075
หนุมานโฒกา (เนปาล: हनुमान ढोका; Hanuman Dhoka) เป็นเขตพระราชวังหลวงของกษัตริย์มัลละและชาห์ ในจัตุรัสทุรพัรวสันตปุระในกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล หนุมานโฒกากินพื้นที่ 5 เอเคอร์ ชื่อของหนุมานโฒกามาจากเทวรูปหินของพระหนุมาน ใกล้กับประตูทางเข้าของวัง ส่วน 'โฒกา' มาจากภาษาเนปาล แปลว่า "ทางเข้าออก" หมู่อาคารในหนุมานโฒกาได้รับความเสียหายมากจากแผ่นดินไหวเมื่อปี 2015
พิพิธภัณฑ์ปาฏัน
ระยะทาง: ประมาณ 5000 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.6730952,85.325638
พิพิธภัณฑ์ปาฏัน (เนปาล: पाटन संग्रहालय) เป็นพิพิธภัณฑ์ในปาฏัน อำเภอลลติปุระ ประเทศเนปาล พิพิธภัณฑ์เป็นส่วนหนึ่งของแหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก ในฐานะส่วนหนึ่งของจัตุรัสดูร์บาร์ พิพิธภัณฑ์สถาปนาขึ้นในปี 1997 โดยกษัตริย์วิเรนทร วีระ วิกรม ชาห์ ภายในจัดแสดงงานศิลปะเชิงศาสนาของเนปาล ตัวอาคารเป็นอดีตส่วนพำนักอาศัยของดูร์บาร์ปาฏัน ซึ่งในอดีตเป็นหนึ่งในพระราชวังหลวงของกษัตริย์มัลละแห่งหุบเขากาฐมาณฑุ ตัวอาคารพระราชวังหลวงสร้างขึ้นในปี 1734 บนจุดที่ก่อนหน้านี้เป็นพุทธาราม ลานกลางของพิพิธภัณฑ์มีชื่อว่า เกศวนารายณจาวก์ (Keshav Narayan Chowk) จัตุรัสดูร์บาร์ปาฏันได้รับความเสียหายอย่างหนักจากเหตุแผ่นดินไหวในเนปาลเมื่อเดือนเมษายน 2015
โรงพยาบาลสตรีและสูติกรรมปโรปการ
ระยะทาง: ประมาณ 4426 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.689563,85.319052
โรงพยาบาลสตรีและสูติกรรรมปโรปการ (อังกฤษ: Paropakar Maternity and Women's Hospital) หรือรู้จักในชื่อ ประสูติคฤหะ (เนปาล: प्रसूति गृह; Prasuti Griha) เป็นโรงพยาบาลสูติกรรมแห่งแรกของประเทศเนปาล ตั้งอยู่ในกาฐมาณฑุ สถาปนาขึ้นในปี 1959 และมีขนาด 415 เตียง มีรายงานจำนวนสตรีที่มาคลอดบุตรที่โรงพยาบาลนี้อยู่ที่ 15,000 คนต่อปี โรงพยาบาลมีขนาด 415 เตียง จำนวนนี้ 336 เป็นแผนผู้ป่วยใน; 241 เตียงเป็นของแผนกสูติศาสตร์, 61 เตียงสำหรับแผนกนรีเวชวิทยา และ 34 เตียงของเวชศาสตร์ทารกแรกเกิด และ 79 เตียงเป็นเตียงส่วนกลาง
กีรติปุระ
ระยะทาง: ประมาณ 250 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.67805556,85.27694444
กีรติปุระ (เนปาล: कीर्तिपुर, Kirtipur; เนปาลภาษา: किपू กิปู) เป็นเทศบาลและนครโบราณในประเทศเนปาล ตั้งอยู่ในหุบเขากาฐมาณฑุ ห่างไป 5 กิโลเมตรทางใต้ของนครกาฐมาณฑุ เดิมทีเป็นชุมชนของชาวเนวาร์ กีรติปุระเป็นหนึ่งในห้าเทศบาลที่มีความหนาแน่นในหุบเขากาฐมาณฑุ โดยอีกสี่แห่งคือนครกาฐมาณฑุ ลลิตปุระ, ภักตปุระ และ มัธยปุระฐิมิ กีรติปุระในปัจจุบันเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวทั้งจากธรรมชาติและวัฒนธรรม ในปี 2008 กีรติปุระได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกเบื้องต้นของยูเนสโก
โขกนา
ระยะทาง: ประมาณ 4666 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.64,85.29
โขกนา (เนปาล: खोना; Khokana) เป็นหมู่บ้านเนวาร์ อดีตเขตคณะกรรมการพัฒนาหมู่บ้าน (VDC) ในปัจจุบันถูกผนวกเข้ากับ VDC พุงคมติ, ฉัมปิ, ทุกุฉหัป, ไสนพู และอีก 38 VDC เป็นส่วนหนึ่งของเขตมหานครลลิตปุระ ในอำเภอลลิตปุระ เขตพัคมติ ประชากรของโขกนาตามสำมะโนปี 1991 อยู่ที่ 4258 คน ใน 699 ครัวเรือน ซึ่งเพิ่มขึ้นในสำมะโนปี 2011 เป็น 4927 คน ใน 1056 ครัวเรือน
วิหารตะเลจู
ระยะทาง: ประมาณ 4242 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.704871,85.308008
วิหารตะเลจู เป็นโบสถ์พราหมณ์ที่อุทิศแด่ตะเลจูภวานี เทพนารีของราชวงศ์มัลลาแห่งเนปาล สร้างขึ้นใน ค.ศ.
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
เมฆเล็กน้อย
8 องศาเซลเซียส
8 องศาเซลเซียส
8 องศาเซลเซียส
8 องศาเซลเซียส
1021 hPa
81 %
1021 hPa
856 hPa
7000 เมตร
20 %