ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
Europe/Berlin
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
Bayer AG
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
กำแพงเบอร์ลิน
ระยะทาง: ประมาณ 2752 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.516,13.377
กำแพงเบอร์ลิน (อังกฤษ: Berlin Wall; เยอรมัน: Berliner Mauer) เป็นกำแพงที่สร้างขึ้นช่วงสงครามเย็น มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้นพรมแดนระหว่างเบอร์ลินตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีตะวันตก กับเยอรมนีตะวันออกที่โอบอยู่โดยรอบ มีความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) และปิดกั้นพรมแดนนี้เป็นระยะเวลา 28 ปี ก่อนถูกทลายในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.
แม่น้ำชเปร
ระยะทาง: ประมาณ 2339 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.51944444,13.36333333
ชเปร (เยอรมัน: Spree; ซอร์บ: Sprowja หรือ Sprewja) เป็นแม่น้ำในรัฐแซกโซนี รัฐบรันเดินบวร์ค และรัฐเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ชเปรเป็นสาขาด้านซ้ายของแม่น้ำฮาเฟิล มีความยาวประมาณ 400 ก.ม.
ประตูบรันเดินบวร์ค
ระยะทาง: ประมาณ 2733 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.51627222,13.37772222
ประตูบรันเดินบวร์ค (เยอรมัน: Brandenburger Tor) เป็นอดีตประตูเมืองที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นประตูชัยที่สร้างแบบสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก (Neoclassical) และปัจจุบันถือว่าเป็นสถานที่สำคัญที่เป็นที่รู้จักกันอย่างดีใน กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ประตูบรันเดินบวร์คตั้งอยู่ฝั่งตะวันของใจกลางกรุงเบอร์ลินบริเวณชุมทางระหว่างถนนหลวงอุนเทอร์ เดน ลินเดน (Unter den Linden) กับถนนเอเบิร์ทชตรัสเซอ (Ebertstraße) และอยู่ทางทิศตะวันตกของจัตุรัสพาริเซอร์ (Pariser Platz) ห่างประตูออกไปทางเหนือหนึ่งบล็อก เป็นที่ตั้งของอาคารไรชส์ทาค
ชารีเท
ระยะทาง: ประมาณ 1584 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.52694444,13.37722222
ชารีเท (เยอรมัน: Charité) เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป ตามที่อ้างในปี พ.ศ.
ยุทธการที่เบอร์ลิน
ระยะทาง: ประมาณ 2801 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.51666667,13.38333333
ยุทธการที่เบอร์ลิน หรือที่สหภาพโซเวียตตั้งชื่อว่า ปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์เบอร์ลิน (รัสเซีย: Битва за Берлин, Берлинская наступательная операция, Штурм Берлина) เป็นการรุกใหญ่ในช่วงปลายเขตสงครามยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สอง เริ่มจากวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1945 กองทัพแดงเจาะแนวรบเยอรมันหลังการรุกวิสตูลา–โอเดอร์และรุกมาทางทิศตะวันตกไกลถึง 40 กิโลเมตรต่อวันผ่านปรัสเซียตะวันออก โลว์เออร์ไซลีเชีย พอเมอราเนียตะวันออกและอัปเปอร์ไซลีเชีย และหยุดชั่วคราวตรงเส้น 60 กิโลเมตรทางตะวันออกของกรุงเบอร์ลินตามแม่น้ำโอเดอร์ เมื่อการรุกเริ่มขึ้นอีกครั้ง สองแนวรบ (กลุ่มกองทัพ) ของโซเวียตเข้าตีกรุงเบอร์ลินจากทางตะวันออกและใต้ ขณะที่แนวรบที่สามบุกกำลังเยอรมันซึ่งตั้งอยู่ทางเหนือของเบอร์ลิน ยุทธการในเบอร์ลินกินเวลาระหว่างวันที่ 20 เมษายนถึงเช้าวันที่ 2 พฤษภาคม มีการเตรียมตั้งรับที่ชานกรุงเบอร์ลินครั้งแรกเมื่อวันที่ 20 มีนาคม เมื่อผู้บัญชาการกองทัพกลุ่มวิสตูลาซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ พลเอก กอททาร์ด ไฮน์รีซี คาดเดาได้ถูกต้องว่าโซเวียตจะผลักดันข้ามแม่น้ำวิสตูลาเป็นหลัก ก่อนการยุทธ์หลักในกรุงเบอร์ลินจะเริ่มขึ้น ฝ่ายโซเวียตจัดการล้อมนครอันเป็นผลจากความสำเร็จในยุทธการที่ราบสูงซีโลว์และที่ฮัลเบอ วันที่ 20 เมษายน ค.ศ.
อาคารไรชส์ทาค
ระยะทาง: ประมาณ 2459 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.51861111,13.37638889
อาคารไรชส์ทาค (เยอรมัน: Reichstagsgebäude [ˈʁaɪçstaːksɡəˌbɔʏdə]) หรือมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า อาคารที่ประชุมใหญ่ไรชส์ทาค (เยอรมัน: Deutscher Bundestag – Plenarbereich Reichstagsgebäude [ˈdɔʏtʃɐ ˈbʊndəsˌtaːk ˈpleːnaːɐ̯bəˌʁaɪç ˈʁaɪçstaːksɡəˌbɔʏdə]) เป็นอาคารรัฐสภาทางประวัติศาสตร์ ตั้งอยู่ที่พลัทซ์แดร์รีปูบลิกในกรุงเบอร์ลิน เป็นที่ตั้งของบุนเดิสทาค(สภาสหพันธ์)ของเยอรมัน มันยังเป็นสถานที่ที่ประชุมของบุนเดิสแฟร์ซัมลุง(สมัชชาสหพันธ์) ที่ซึ่งได้เลือกประธานาธิบดีแห่งเยอรมนีอีกด้วย อาคารรูปแบบสไตล์นีโอ-เรเนซองส์ ถูกสร้างขึ้นระหว่าง ค.ศ. 1884 และ 1894 ในเขตเทียร์กาเทิน บนฝั่งซ้ายของแม่น้ำชเปร ตามการออกแบบโดยสถาปนิกชาวเยอรมันนามว่า เพาล์ วัลลอท มันเป็นที่ตั้งของทั้งรัฐสภาไรชส์ทาคของจักรวรรดิเยอรมันและรัฐสภาไรชส์ทาคของสาธารณรัฐไวมาร์ สภาสหพันธ์ไรชส์ยังได้ประชุมกันที่นั่นในตอนแรก อาคารนี้ได้ถูกใช้โดยรัฐสภาไรชส์ทาคของนาซีเยอรมนี แต่ได้รับความเสียหายอย่างรุนแรงจากเหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาคใน ค.ศ. 1933 ทำให้ไม่สามารถใข้อาคารนี้ได้อีกต่อไป และรัฐสภาไรชส์ทาคจึงย้ายไปอยู่ที่โรงอุปรากรครอลล์ที่อยู่ใกล้เคียง เหตุเพลิงไหม้ ค.ศ.
บุนเดิสทาค
สภานิติบัญญัติแห่งประเทศเยอรมนี รัฐสภา
ระยะทาง: ประมาณ 2455 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.51861111,13.37611111
บุนเดิสทาค (เยอรมัน: Bundestag; แปลว่า สภาสหพันธ์) เป็นสภากลางของประเทศเยอรมนี เป็นสถาบันนิติบัญญัติเดียวที่สมาชิกได้รับเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนทั่วทั้งประเทศ บุนเดิสทาคอาจเทียบได้กับสภาล่างในประเทศที่ใช้ระบบสองสภา เช่น สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐ บุนเดิสทาคดำรงอยู่ตามบทบัญญัติหมวดที่สามของกฎหมายพื้นฐานสำหรับสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (รัฐธรรมนูญ) ซึ่งบังคับใช้เมื่อ ค.ศ.
พิพิธภัณฑ์เปร์กาโมน
ระยะทาง: ประมาณ 2822 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.52111111,13.39611111
พิพิธภัณฑ์เปร์กาโมน (เยอรมัน: Pergamonmuseum, ออกเสียง: [ˈpɛʁ.ɡa.mɔn.muˌzeː.ʊm] ( ฟังเสียง)) เป็นอาคารอนุรักษ์บนเกาะพิพิธภัณฑ์ในย่านมิทเทอ เบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี สร้างขึ้นในระหว่างปี 1910 ถึง 1930 ตามพระราชดำริของจักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี ตามแปลนที่ออกแบบโดยอัลเฟรท เม็สเซิล และลูทวิช ฮ็อฟมัน ตามสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิกลดทอน พิพิธภัณฑ์ในฐานะส่วนหนึ่งของหมู่พิพิธภัณฑ์บนเกาะพิพิธภัณฑ์ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกยูเนสโกในปี 1999 สมบัติจัดแสดงชิ้นสำคัญของพิพิธภัณฑ์รวมถึงแท่นบูชาเปร์กาโมน, ประตูตลาดมีแลโตส, ประตูอิชตาร์และเส้นทางมุ่งสู่ประตูจากบาบิโลน, ฟาซาดมชัตตา, ห้องอะเลปโป และชิ้นส่วนประติมากรรมมหากาพย์กิลกาเมช
โบสถ์ยิวใหม่ (เบอร์ลิน)
ระยะทาง: ประมาณ 2451 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.52472222,13.39444444
โบสถ์ยิวใหม่ (เยอรมัน: Neue Synagoge) เป็นโบสถ์ยิวสร้างขึ้นในกลางศตวรรษที่ 19 ตั้งอยู่บนโอราไนน์บูร์แฌร์สตราส ในเบอร์ลิน สร้างขึ้นเพื่อเป็นศูนย์กลางหนึ่งสำหรับศาสนพิธีของชุมชนชาวยิว แทนที่โบสถ์ยิวเก่าซึ่งมีขนาดเล็กเกินไปสำหรับชุมชนที่ขยายใหญ่ขึ้น โบสถ์ยิวใหม่สร้างด้วยอิฐพอลีโครม และประดับประดาฟาซาดด้วยอิฐแกะสลักและงานดินเผา และแต่งสีด้วยเครื่องเคลือบดินเผา โดมของโบสถ์ยิวซึ่งโดดเด่นทำให้อาคารนี้เป็นหนึ่งในจุดหมายตาของเบอร์ลิน
พิพิธภัณฑ์โบเดอ
ระยะทาง: ประมาณ 2690 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.52194444,13.39472222
พิพิธภัณฑ์โบเดอ (เยอรมัน: Bode-Museum) หรือชื่อเดิม พิพิธภัณฑ์ไคเซอร์ฟรีดริช (เยอรมัน: Kaiser-Friedrich-Museum) เป็นอาคารอนุรักษ์และพิพิธภัณฑ์บนเกาะพิพิธภัณฑ์ในย่านมิทเทอในนครเบอร์ลิน สร้างขึ้นในปี 1898 แล้วเสร็จในปี 1904 โดยดำริของจักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 2 ตามการออกแบบโดยแอนท์ ฟอน อีห์เนอ ในรูปแบบสถาปัตยกรรมฟื้นฟูบาโรก จัตุรัสด้านหน้าของอาคารในอดีตมีอนุสรณ์ระลึกถึงจักรพรรดิฟรีดริชที่ 3 แต่ต่อมาถูกทางการเยอรมนีตะวันออกทำลายลง ปัจจุบันพิพิธภัณฑ์โบเดอเป็นที่ตั้งของสคุลพ์ทัวเรินซัมลุง (Skulpturensammlung; ชุดของสะสมประติมากรรม), มูเซอุมฟัวร์บีซันทีนิซเชอคูนท์ (Museum für Byzantinische Kunst; พิพิธภัณฑ์ศิลปะบีแซนทีน) และ มืนซ์คาบีเนท (Münzkabinett; ชุดของสะสมเหรียญ) ในปี 1999 พิพิธภัณฑ์โบเดอในฐานะส่วนหนึ่งของเกาะพิพิธภัณฑ์ ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโกด้วยลักษณะทางสถาปัตยกรรมอันโดดเด่น และในฐานะมรดกของการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ขึ้นเป็นปรากฏการณ์ทางสังคมในปลายศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20
ฟูทูรีอุม
ระยะทาง: ประมาณ 1832 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.5241,13.3743
ฟูทูรีอุม (เยอรมัน: Futurium) เป็นพิพิธภัณฑ์ที่มีห้องทดลองและจัดแสดงนิทรรศการแนวล้ำสมัย ฟูทูรีอุมเป็นโครงการที่คณะรัฐมนตรีเยอรมนีและบรรดาหน่วยงานด้านวิทยาศาสตร์ริเริ่มขึ้น ฟูทูรีอุมเปิดให้บริการเมื่อเดือนกันยายน 2019 เพื่อเป็น "สถานที่เพื่อนำเสนอและพูดคุยเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ การค้นคว้าวิจัย และการพัฒนา"
อัลเทอนัทซีโอนาลกาเลอรี
ระยะทาง: ประมาณ 2933 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.52083333,13.39805556
อัลเทอนัทซีโอนาลกาเลอรี (เยอรมัน: Alte Nationalgalerie; แปลว่า หอศิลป์แห่งชาติเก่า) เป็นอาคารอนุรักษ์และพิพิธภัณฑ์บนเกาะพิพิธภัณฑ์ในย่านมิทเทอของกรุงเบอร์ลิน หอศิลป์สร้างขึ้นระหว่างปี 1862 ถึง 1876 ตามพระราชโองการของพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 4 แห่งปรัสเซีย ตามแปลนที่ออกแบบโดยฟรีดริช เอากุสท์ ชตือเลอร์ และโยฮัน ไฮน์ริช ชตรัค และตามแบบสถาปัตยกรรมนีโอคลาสสิกและฟื้นฟูเรอแนซ็องส์ บันไดด้านนอกของอาคารพิพิธภัณฑ์เป็นที่ตั้งของอนุสรณ์แด่พระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 4 ปัจจุบัน อัลเทอนัทซีโอนาลกาเลอรีจัดแสดงจิตรกรรมและประติมากรรมจากศตวรรษที่ 19 และมีนักท่องเที่ยวเข้าชมจำนวนมาก ในปี 1999 หอศิลป์ในฐานะส่วนหนึ่งของเกาะพิพิธภัณฑ์ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโกด้วยลักษณะทางสถาปัตยกรรมอันโดดเด่น และในฐานะมรดกของการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ขึ้นเป็นปรากฏการณ์ทางสังคมในปลายศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
เมฆเต็มท้องฟ้า
4 องศาเซลเซียส
1 องศาเซลเซียส
3 องศาเซลเซียส
5 องศาเซลเซียส
1027 hPa
88 %
1027 hPa
1022 hPa
10000 เมตร
3.58 เมตร/วินาที
4.47 เมตร/วินาที
70 ระดับ
86 %
07:18:06
16:22:44