141.45.66.36 - การสืบค้น IP: การสืบค้นที่อยู่ IP ฟรี, การสืบค้นรหัสไปรษณีย์, การสืบค้นตำแหน่ง IP, IP ASN, IP สาธารณะ
ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย:
ASN:
ภาษา:
User-Agent:
Proxy IP:
บัญชีดำ:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
IP2Location
141.45.66.36ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
berlin
เมือง
friedrichstadt
โซนเวลาท้องถิ่น
Europe/Berlin
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
ภาษา
User-Agent
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
กำแพงเบอร์ลิน
ระยะทาง: ประมาณ 928 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.516,13.377
กำแพงเบอร์ลิน (อังกฤษ: Berlin Wall; เยอรมัน: Berliner Mauer) เป็นกำแพงที่สร้างขึ้นช่วงสงครามเย็น มีวัตถุประสงค์เพื่อปิดกั้นพรมแดนระหว่างเบอร์ลินตะวันตกซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีตะวันตก กับเยอรมนีตะวันออกที่โอบอยู่โดยรอบ มีความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) และปิดกั้นพรมแดนนี้เป็นระยะเวลา 28 ปี ก่อนถูกทลายในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.
นาซีเยอรมนี
เยอรมนีภายใต้การปกครองของพรรคนาซี (ค.ศ. 1933 – ค.ศ. 1945)
ระยะทาง: ประมาณ 843 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.51666667,13.4
นาซีเยอรมนี (อังกฤษ: Nazi Germany) บ้างเรียก ไรช์ที่สาม (เยอรมัน: Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (เยอรมัน: Deutsches Reich) คือชื่อเรียกประเทศเยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 อาณาจักรที่สามซึ่งแสดงให้เห็นภาพของนาซีที่มีต่อนาซีเยอรมนีว่าเป็นผู้สืบทอดของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (800-1806) และจักรวรรดิเยอรมันในปี 1871-1918
จักรวรรดิเยอรมัน
รัฐชาติเยอรมันในภูมิภาคยุโรปตอนกลาง ดำรงอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1871 ถึง ค.ศ. 1918
ระยะทาง: ประมาณ 843 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.51666667,13.4
จักรวรรดิเยอรมัน (เยอรมัน: Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันในค.ศ. 1871 จนถึงการสละราชสมบัติของจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ในค.ศ. 1918 ซึ่งนำไปสู่การสิ้นสุดระบอบกษัตริย์ในเยอรมัน ชื่อจักรวรรดิเยอรมันในภาษาเยอรมันอย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (เยอรมัน: Deutsches Reich) อย่างไรก็ตาม แม้จักรวรรดิจะล่มสลายไปในปี ค.ศ.
ประตูบรันเดินบวร์ค
ระยะทาง: ประมาณ 897 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.51627222,13.37772222
ประตูบรันเดินบวร์ค (เยอรมัน: Brandenburger Tor) เป็นอดีตประตูเมืองที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นประตูชัยที่สร้างแบบสถาปัตยกรรมฟื้นฟูคลาสสิก (Neoclassical) และปัจจุบันถือว่าเป็นสถานที่สำคัญที่เป็นที่รู้จักกันอย่างดีใน กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ประตูบรันเดินบวร์คตั้งอยู่ฝั่งตะวันของใจกลางกรุงเบอร์ลินบริเวณชุมทางระหว่างถนนหลวงอุนเทอร์ เดน ลินเดน (Unter den Linden) กับถนนเอเบิร์ทชตรัสเซอ (Ebertstraße) และอยู่ทางทิศตะวันตกของจัตุรัสพาริเซอร์ (Pariser Platz) ห่างประตูออกไปทางเหนือหนึ่งบล็อก เป็นที่ตั้งของอาคารไรชส์ทาค
ยุทธการที่เบอร์ลิน
ระยะทาง: ประมาณ 616 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.51666667,13.38333333
ยุทธการที่เบอร์ลิน หรือที่สหภาพโซเวียตตั้งชื่อว่า ปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์เบอร์ลิน (รัสเซีย: Битва за Берлин, Берлинская наступательная операция, Штурм Берлина) เป็นการรุกใหญ่ในช่วงปลายเขตสงครามยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สอง เริ่มจากวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1945 กองทัพแดงเจาะแนวรบเยอรมันหลังการรุกวิสตูลา–โอเดอร์และรุกมาทางทิศตะวันตกไกลถึง 40 กิโลเมตรต่อวันผ่านปรัสเซียตะวันออก โลว์เออร์ไซลีเชีย พอเมอราเนียตะวันออกและอัปเปอร์ไซลีเชีย และหยุดชั่วคราวตรงเส้น 60 กิโลเมตรทางตะวันออกของกรุงเบอร์ลินตามแม่น้ำโอเดอร์ เมื่อการรุกเริ่มขึ้นอีกครั้ง สองแนวรบ (กลุ่มกองทัพ) ของโซเวียตเข้าตีกรุงเบอร์ลินจากทางตะวันออกและใต้ ขณะที่แนวรบที่สามบุกกำลังเยอรมันซึ่งตั้งอยู่ทางเหนือของเบอร์ลิน ยุทธการในเบอร์ลินกินเวลาระหว่างวันที่ 20 เมษายนถึงเช้าวันที่ 2 พฤษภาคม มีการเตรียมตั้งรับที่ชานกรุงเบอร์ลินครั้งแรกเมื่อวันที่ 20 มีนาคม เมื่อผู้บัญชาการกองทัพกลุ่มวิสตูลาซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ พลเอก กอททาร์ด ไฮน์รีซี คาดเดาได้ถูกต้องว่าโซเวียตจะผลักดันข้ามแม่น้ำวิสตูลาเป็นหลัก ก่อนการยุทธ์หลักในกรุงเบอร์ลินจะเริ่มขึ้น ฝ่ายโซเวียตจัดการล้อมนครอันเป็นผลจากความสำเร็จในยุทธการที่ราบสูงซีโลว์และที่ฮัลเบอ วันที่ 20 เมษายน ค.ศ.
สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ
ระยะทาง: ประมาณ 843 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.51666667,13.4
สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ (เยอรมัน: Norddeutscher Bund) คือชื่อของรัฐชาติเยอรมันซึ่งดำรงอยู่ระหว่าง กรกฎาคม ค.ศ. 1867 ถึง ธันวาคม ค.ศ. 1870 สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือสิ้นสุดลงเมื่อมีการสถาปนารัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ และตามรัฐธรรมนูญฉบับนั้นได้เปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "จักรวรรดิเยอรมัน" หลังจากรัฐชาติของชาวเยอรมันได้แตกเป็นเสี่ยงๆในสมัยสงครามนโปเลียน เมื่อสงครามนโปเลียนสิ้นสุดก็มีการสถาปนาสมาพันธรัฐเยอรมันขึ้นในปี ค.ศ.
อนุสรณ์สถานแด่ชาวยิวผู้ถูกสังหารในยุโรป
ระยะทาง: ประมาณ 733 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.51388889,13.37888889
อนุสรณ์สถานชาวยิวผู้ถูกสังหารในยุโรป (อังกฤษ: Memorial to the Murdered Jews of Europe, เยอรมัน: Denkmal für die ermordeten Juden Europas) หรือ อนุสรณ์สถานฮอโลคอสต์ (เยอรมัน: Holocaust-Mahnmal) เป็นอนุสรณ์สถานในเบอร์ลินที่ระลึกถึงเหยื่อชาวยิวจากฮอโลคอสต์ ผลงานออกแบบโดย ปีเตอร์ ไอเซนมัน และ บูโร ฮัพโพลด์ มีขนาดพื้นที่รวม 19,000-ตารางเมตร (200,000-ตารางฟุต) ซึ่งเต็มไปด้วยแผ่นคอนกรีต 2,711 ชิ้นที่วางเรียกกันเป็นรูปแบบกริด บนลานซึ่งมีความชัน แปลนเดิมตั้งใจจะสร้างแผ่นคอนกรีตรวม 4,000 แผ่น แต่หลังการคำนวณใหม่เพื่อให้เข้ากันได้กับกฎหมาย ปริมาณสูงสุดที่จะสร้างแผ่นคอนกรีตได้คือ 2,711 แผ่น แผ่นคอนกรีตเหล่านี้เรียกว่า สเตเล (stelae) และแต่ละแผ่นมีความขาว 2.38 m (7 ft 9 1⁄2 in) กว้าง 0.95 m (3 ft 1 1⁄2 in) และมีความสูงต่างกันไประหว่าง 0.2 ถึง 4.7 เมตร (8 นิ้ว ถึง 15 ฟุต 5 นิ้ว) วางเรียงกันเป็นแถวรวม 54 แถวจากเหนือจรดใต้ และ 87 แถวในทิศตะวันออกจรดตะวันตก ทำมุมฉากกันแต่เอียงเล็กน้อย ใต้ดินของอนุสรณ์สถานเป็น "สถานข้อมูล" (เยอรมัน: Ort der Information) ซึ่งแสดงรายชื่อชาวยิวราวสามล้านคนที่ถูกสังหารในฮอโลคอสต์ ซึ่งได้รับมาจากยัดวาเชมในอิสราเอล
พิพิธภัณฑ์เปร์กาโมน
ระยะทาง: ประมาณ 1048 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.52111111,13.39611111
พิพิธภัณฑ์เปร์กาโมน (เยอรมัน: Pergamonmuseum, ออกเสียง: [ˈpɛʁ.ɡa.mɔn.muˌzeː.ʊm] ) เป็นอาคารอนุรักษ์บนเกาะพิพิธภัณฑ์ในย่านมิทเทอ เบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี สร้างขึ้นในระหว่างปี 1910 ถึง 1930 ตามพระราชดำริของจักรพรรดิวิลเฮ็ล์มที่ 2 แห่งเยอรมนี ตามแปลนที่ออกแบบโดยอัลเฟรท เม็สเซิล และลูทวิช ฮ็อฟมัน ตามสถาปัตยกรรมแบบคลาสสิกลดทอน พิพิธภัณฑ์ในฐานะส่วนหนึ่งของหมู่พิพิธภัณฑ์บนเกาะพิพิธภัณฑ์ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกยูเนสโกในปี 1999 สมบัติจัดแสดงชิ้นสำคัญของพิพิธภัณฑ์รวมถึงแท่นบูชาเปร์กาโมน, ประตูตลาดมีแลโตส, ประตูอิชตาร์และเส้นทางมุ่งสู่ประตูจากบาบิโลน, ฟาซาดมชัตตา, ห้องอะเลปโป และชิ้นส่วนประติมากรรมมหากาพย์กิลกาเมช
อัลเทิสมูเซอุม
ระยะทาง: ประมาณ 969 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.51944444,13.39833333
อัลเทิสมูเซอุม (เยอรมัน: Altes Museum; พิพิธภัณฑ์เก่า) เป็นอาคารอนุรักษ์และพิพิธภัณฑ์บนเกาะพิพิธภัณฑ์ในย่านมิทเทอ เบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี สร้างขึ้นในปี 1825 ก่อสร้างเสร็จในปี 1830 โดยดำรัสของพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 3 แห่งปรัสเซีย ตามแนวทางการออกแบบของคาร์ล ฟรีดริค ชินเคิล ตัวอาคารได้รับการยอมรับว่าเป็นตัวอย่างชิ้นสำคัญหนึ่งของสถาปัตยกรรมนีโอคลาสสิก ตัวพิพิธภัณฑ์ติดกันกับอาสนวิหารเบอร์ลินทางตะวันออก, พระราชวังเบอร์ลินทางใต้ และซ็อยฌ์เฮาส์ทางตะวันตด ในปัจจุบัน พิพิธภัณฑ์อัลเทิสเป็นที่ตั้งของอันทีเคินซัมลุง (Antikensammlung; ของสะสมโบราณ) และบางส่วนของมึนซ์คาบีเนท (Münzkabinett; ชองสะสมเหรียญ) ในปี 1999 พิพิธภัณฑ์อัลเทิสในฐานะส่วนหนึ่งของเกาะพิพิธภัณฑ์ ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโกด้วยลักษณะทางสถาปัตยกรรมอันโดดเด่น และในฐานะมรดกของการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ขึ้นเป็นปรากฏการณ์ทางสังคมในปลายศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20
น็อยเอิสมูเซอุม
ระยะทาง: ประมาณ 1048 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.52055556,13.39777778
น็อยเอิสมูเซอุม (เยอรมัน: Neues Museum; แปลว่า พิพิธภัณฑ์ใหม่) เป็นอาคารอนุรักษ์และพิพิธภัณฑ์บนเกาะพิพิธภัณฑ์ในย่านมิทเทอของกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี สร้างขึ้นระหว่างปี 1843 ถึงปี 1855 ตามพระราชโองการของพระเจ้าฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 4 แห่งปรัสเซีย และตามแบบสถาปัตยกรรมนีโอคลาสสิกและฟื้นฟูเรอแนซ็องส์ รวมถึงได้รับการยอมรับว่าผลงานชิ้นสำคัญหนึ่งของสถาปนิกฟรีดริช เอากุสท์ ชตือเลอร์ พิพิธภัณฑ์ได้รับความเสียหายจากการทิ้งระเบิดของฝ่ายสัมพันธมิตรในสมัยสงครามโลกครั้งที่สองและถูกทิ้งให้ทรุดโทรมลงในสมัยเยอรมนีตะวันออก ก่อนจะได้รับการฟื้นฟูขึ้นใหม่ในปี 1999 และเปิดให้บริการอีกครั้งในปี 2009 นำโดยเดวิด ชิปเพอร์ฟีลด์ ปัจจุบัน น็อยเอิสมูเซอุมเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์ไอยคุปต์วิทยา (Ägyptisches Museum), ของสะสมพาไพรัส (Papyrussammlung), พิพิธภัณฑ์ยุคก่อนประวัติศาสตร์และยุคกึ่งก่อนประวัติศาสตร์ (Museum für Vor- und Frühgeschichte) และบางส่วนของของสะสมโบราณ (Antikensammlung) ในปี 1999 พิพิธภัณฑ์ในฐานะส่วนหนึ่งของเกาะพิพิธภัณฑ์ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโกด้วยลักษณะทางสถาปัตยกรรมอันโดดเด่น และในฐานะมรดกของการพัฒนาพิพิธภัณฑ์ขึ้นเป็นปรากฏการณ์ทางสังคมในปลายศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20
มูเซอุมส์อินเซิล (สถานีรถไฟใต้ดินเบอร์ลิน)
ระยะทาง: ประมาณ 796 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.517403,13.398203
มูเซอุมส์อินเซิล (เยอรมัน: Museumsinsel) เป็นสถานีรถไฟใต้ดินของรถไฟใต้ดินเบอร์ลิน ตั้งอยู่ในเขตเมิทเทอ เป็นสถานีส่วนต่อขยายของสาย U5 ระหว่างอาเล็กซันเดอร์พลัทซ์ กับ บรันเดินบัวร์เคอร์ทอร์ เริ่มต้นการก่อสร้างสถานีในปี 2010 และเปิดให้บริการอย่างเป็นทางการในปี 2021
ฮุมบ็อลท์ฟอรุม
ระยะทาง: ประมาณ 1052 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 52.5175,13.40277778
ฮุมบ็อลท์ฟอรุม (Humboldt Forum) หรือ หอประชาคมฮุมบ็อลท์ เป็นพิพิธภัณฑ์สถานเกี่ยวกับประวัติศาสตร์มนุษย์ ศิลปกรรม และวัฒนธรรม ตั้งอยู่ในพระราชวังกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นอาคารที่สร้างขึ้นใหม่ตามลักษณะของวังเดิมซึ่งถูกทำลายในสงครามโลกครั้งที่สอง
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
ท้องฟ้าแจ่มใส
6 องศาเซลเซียส
3 องศาเซลเซียส
5 องศาเซลเซียส
7 องศาเซลเซียส
998 hPa
85 %
998 hPa
993 hPa
10000 เมตร
4.63 เมตร/วินาที
170 ระดับ