ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Kolkata
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
TATA Communications formerly VSNL is Leading ISP
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
รัฐทมิฬนาฑู
ระยะทาง: ประมาณ 816 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.09,80.27
ทมิฬนาฑู [ทะ-มิน-นา-ดู] (ทมิฬ: தமிழ்நாடு; อังกฤษ: Tamil Nadu) เป็นหนึ่งในรัฐของประเทศอินเดีย เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของรัฐคือเจนไน ทมิฬนาฑูตั้งอยู่ส่วนใต้สุดของอนุทวีปอินเดีย และมีอาณาเขตติดกับดินแดนสหภาพปูดูเชร์รี, รัฐเกรละ, รัฐกรณาฏกะ และรัฐอานธรประเทศ รัฐทมิฬนาฑูล้อมรอบด้วยเทือกเขาฆาฏตะวันออกทางเหนือ, เทือกเขานิลคีรี (Nilgiri Mountains), เทือกเขาเมฆมาไล (Meghamalai) ทางตะวันตก, ทะเลเบงกอล ทางตะวันออก, อ่าวมันนาร์ (Gulf of Mannar) และช่องแคบพอล์ก (Palk Strait) ทางตะวันออกเฉียงใต้, และมหาสมุทรอินเดียทางใต้ รัฐทมิฬนาฑูมีชายแดนทางทะเลติดกับประเทศศรีลังกา
เจนไน
ระยะทาง: ประมาณ 443 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.08333333,80.26666667
เจนไน (อังกฤษ: Chennai; ทมิฬ: சென்னை) หรือชื่อเดิม มัทราส (Madras) เป็นเมืองหลวงของรัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ริมชายฝั่งโคโรมันเดล (โจฬมณฑล) ของอ่าวเบงกอล ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ มีพื้นที่ 181.06 ตารางกิโลเมตร จำนวนประชากรประมาณ 7.5 ล้านคน (พ.ศ.
กปาลีศวรมนเทียร
ระยะทาง: ประมาณ 5501 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.03333333,80.26833333
กปาลีศวรมนเทียร (อังกฤษ: Kapaleeshwarar Temple) เป็นโบสถ์พราหมณ์ที่บูชาพระศิวะ ตั้งอยู่ในไมลาปอร์ (Mylapore), เจนไน รัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย พระชายาของพระศิวะ พระปารวตี ที่ประทับอยู่ ณ มนเทียรนี้มีชื่อเรียกว่า กรปกัมพล (Karpagambal) จากภาษาทมิฬ แปลว่า "เทวีแห่งต้นไม้ให้พร" ("Goddess of the Wish-Yielding Tree") มนเทียรนี้สร้างขึ้นในราวคริสต์ศตวรรษที่ 7 สร้างด้วยสถาปัตยกรรมดราวิเดียน เชื่อกันว่าสร้างในสมัยของจักรวรรดิวิชัยนคร (Vijayanagar)
มหาวิทยาลัยมัทราส
ระยะทาง: ประมาณ 153 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.08388889,80.27
มหาวิทยาลัยมัทราส (อังกฤษ: University of Madras หรือ Madras University) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐบาลประจำรัฐในเมืองเจนไน (ชื่อเดิม มัทราส) รัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย ก่อตั้งขึ้นในปี 1857 ภายใต้ความร่วมมือของรัฐบาลและคณะนิติบัญญัติภายใต้รัฐบาลบริเตนประจำอังกฤษในขณะนั้น
วัฬฬุวรรโกฏฏัม
ระยะทาง: ประมาณ 4447 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.05441111,80.24175
วัฬฬุวรรโกฏฏัม (ทมิฬ: வள்ளுவர் கோட்டம்; Valluvar Kottam) เป็นอนุสาวรีย์ในเจนไน สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงติรุวัฬฬุวรร กวีทมิฬยุคคลาสสิกและนักปรัชญาอินเดีย วัฬฬุวรรโกฏฏัมตั้งอยู่บนแยกที่ถนนโกฏัมปากกัมไฮโรดตัดกับถนนวิลเลจโรดในย่านนุงกัมปากกัม จุดที่อนุสาวรีย์ตั้งอยู่นั้นเป็นจุดที่ในอดีตเคยเป็นจุดลึกสุดของทะเลสาบท้องถิ่นชื่อทะเลสาบนุงกัมปากกัม (Nungambakkam lake) สถาปนิกผู้ออกแบบอนุสาวรีย์นี้คือวี.
เบอร์มาบะซาร์
ระยะทาง: ประมาณ 2240 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.089772,80.290044
เบอร์มาบะซาร์ (อังกฤษ: Burma Bazaar, ทมิฬ: பர்மா பசார்; ปรมา ปซาร) เป็นปสานหรือตลาดของชุมชนผู้ลี้ภัยชาวพม่าในเมืองเจนไน ประเทศอินเดีย ตั้งอยู่ที่ปาร์รีส์คอร์เนอร์และเป็นหนึ่งในบรรดาพื้นที่ค้าขายที่ไม่มีการจัดการอย่างเป็นระบบหรือตลาดเทาหลายแห่งของเจนไน ปสานตั้งขึ้นในปี 1969 โดยรัฐบาลรัฐทมิฬนาฑู ตัวปสานตั้งอยู่ติดกับสถานีรถไฟเจนไนบีชในย่านจอร์จทาวน์
สถานีรถไฟกลางเจนไน
ระยะทาง: ประมาณ 467 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.0825,80.275
สถานีรถไฟกลางเจนไน (อังกฤษ: Chennai Central) หรือชื่อทางการ สถานีรถไฟกลางปุรัฏจิ ตไลวรร ดร. เอ็ม จี รามัจจันติรัน (อังกฤษ: Puratchi Thalaivar Dr.
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
เมฆเล็กน้อย
30 องศาเซลเซียส
35 องศาเซลเซียส
29 องศาเซลเซียส
30 องศาเซลเซียส
1010 hPa
74 %
1010 hPa
1009 hPa
10000 เมตร
1.79 เมตร/วินาที
2.68 เมตร/วินาที
350 ระดับ
16 %
06:03:58
17:41:02