ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
กาฐมาณฑุ
ระยะทาง: ประมาณ 2334 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.7172,85.324
กาฐมาณฑุ [กาด-มาน-ดุ] (อักษรโรมัน: Kathmandu ) หรือชื่อทางการ กาฐมาณฑุมหานครปาลิกา เป็นเมืองหลวงและเมืองที่มีประชากรมากสุดของประเทศเนปาล มีประชากร 845,767 คนตามสำมะโนปี ค.ศ. 2021 และมีประชากรถึง 2.9 ล้านคนหากรวมเขตปริมณฑล กาฐมาณฑุตั้งอยู่ในหุบเขากาฐมาณฑุในเนปาลกลาง ที่ความสูง 1,400 เมตร (4,600 ฟุต) จากระดับน้ำทะเล กาฐมาณฑุเป็นหนึ่งในสถานที่ที่มีการอยู่อาศัยต่อเนื่องยาวนานที่สุด ตั้งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 2 และมีชื่อเรียกในสมัยโบราณว่า "เนปาลมณฑล" เป็นที่อยู่อาศัยของชาวเนวาร์ ซึ่งเป็นอารยธรรมของชนเชิงเขาหิมาลัย กาฐมาณฑุมีสถานะเป็นราชธานีของราชอาณาจักรเนปาลและเป็นที่ตั้งของพระราชวังและอุทยานหลวงที่สร้างขึ้นโดยพระบรมวงศานุวงศ์ของเนปาล กาฐมาณฑุยังเป็นที่ตั้งของศูนย์กลางสำหรับสมาคมเอเชียใต้เพื่อความร่วมมือระดับภูมิภาค (SAARC) มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1985 ในปัจจุบัน กาฐมาณฑุเป็นเมืองหลวงของประเทศเนปาล ประชากรของกาฐมาณฑุมีวัฒนธรรมที่ผสมผสานทั้งฮินดูและพุทธ การท่องเที่ยวจัดเป็นธุรกิจสำคัญหนึ่งของกาฐมาณฑุ ข้อมูลจากปี ค.ศ.
หุบเขากาฐมาณฑุ
ระยะทาง: ประมาณ 2211 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.7105,85.34866667
หุบเขากาฐมาณฑุ (เนปาล: काठमाडौं उपत्यका) คือแหล่งมรดกโลกของประเทศเนปาล โดยมรดกทางวัฒนธรรมของหุบเขากาฐมาณฑุแบ่งออกเป็นอนุสรณ์สถานและอาคารต่าง ๆ รวม 7 กลุ่มซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จอย่างสูงทางประวัติศาสตร์และศิลปะที่ทำให้หุบเขากาฐมาณฑุมีชื่อเสียงในโลก
จัตุรัสกาฐมาณฑุดูร์บาร์
ระยะทาง: ประมาณ 2547 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.704075,85.30708333
จัตุรัสกาฐมาณฑุดูร์บาร์ (อังกฤษ: Kathmandu Durbar Square) หรือชื่อสันสกฤตว่า วสันตปุรทรวารเกษตร (สันสกฤต: वसन्तपुर दरवार क्षेत्र) หน้าพระราชวังเก่าของอดีตราชอาณาจักรกาฐมาณฑุ เป็นหนึ่งในสามจัตุรัสดูร์บาร์ในหุบเขากาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล ทั้งหมดเป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก
ปศุปตินาถมนเทียร
ระยะทาง: ประมาณ 2151 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.70972222,85.34861111
ปศุปตินาถมนเทียร (เนปาล: पशुपतिनाथ मन्दिर) เป็นโบสถ์พราหมณ์ในประเทศเนปาล สร้างถวายพระปศุบดี ซึ่งเป็นเทพเจ้าประจำชาติเนปาล
ยูเอส-บังกลาแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 211
ระยะทาง: ประมาณ 2888 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.69388889,85.36083333
ยูเอส-บังกลาแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 211 (BS211/UBG211) เป็นเที่ยวบินระหว่างประเทศของสายการบินยูเอส-บังกลาแอร์ไลน์ ที่ได้ออกจากท่าอากาศยานนานาชาติชาห์จาลาร์, ธากา, ประเทศบังกลาเทศ และมีจุดหมายปลายทางที่ท่าอากาศยานนานาชาติตริภูวัน, กาฐมาณฑุ, ประเทศเนปาล ในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ.
กาษฐมณฑป
ระยะทาง: ประมาณ 2663 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.704,85.30583
กาษฐมณฑป (เนปาล: काष्ठमण्डप) หรือ มรุ สตะ (เนวาร์: मरु सत:) เป็นอาคารไม้หลังหนึ่งสำหรับใช้เป็นที่พักสาธารณะ จำนวนชั้นสามชั้น ภายในมีศาลเจ้าอุทิศให้โยคีโครัขนาถ ตั้งอยู่ในย่านมรุ กรุงกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล หลังเหตุแผ่นดินไหวเมื่อ พ.ศ.
โรงพยาบาลพีระ
ระยะทาง: ประมาณ 1985 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.705053,85.313608
โรงพยาบาลพีระ (เนปาล: बीर अस्पताल; Bir Hospital) เป็นโรงพยาบาลที่เก่าแก่ที่สุดและมีผู้ใช้บริการมากที่สุดในประเทศเนปาล ตั้งอยู่ที่ใจกลางกาฐมาณฑุ โรงพยาบาลอยู่ภายใต้การดำเนินงานโดยสถาบันวิทยาศาสตร์การแพทย์แห่งชาติของรัฐบาลเนปาล มาตั้งแต่ปี 2003 โรงพยาบาลยังเป็นโรงพยาบาลสอนสำหรับสาขาเฉพาะทางทางการแพทย์ เช่น ศัลยศาสตร์ทั่วไป อายุรศาสตร์ เป็นต้น
รานีโปขรี
ระยะทาง: ประมาณ 1988 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.707847,85.315447
รานีโปขรี (เนปาล: रानी पोखरी, Rani Pokhari; แปล: บ่อน้ำราชินี) หรือชื่อเดิม นฺหูปุขู (เนวาร์: न्हू पुखू, Nhu Pukhu; แปล: บ่อน้ำใหม่) เป็นบ่อน้ำเก่าแก่ที่มนุษย์สร้างขึ้นในใจกลางนครกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล บ่อน้ำมีแปลนเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส สร้างขึ้นในศตวรรษที่ 17 บนขอบตะวันออกของนครกาฐมาณฑุในเวลานั้น ตั้งอยู่ติดกับนอกประตูเมืองเก่าพอดี บ่อน้ำรานีโปขรีมีความสำคัญทั้งทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม และมีขนาด 180 คูณ 140 เมตร รานีโปขรีสร้างขึ้นในปี 1670 โดยกษัตริย์ปรตาป มัลละ แห่งราชวงศ์มัลละ เพื่อปลอบขวัญราชินีผู้ซึ่งกำลังเศร้าโศกจากการสูญเสียบุตรชายไปในอุบัติเหตุโดนช้างเหยียบเสียชีวิต น้ำในบ่อนี้กษัตริย์ปรตาปได้ดำริให้นำน้ำจากแหล่งน้ำและจุดบรรจบของแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ทั่วเนปาลและอินเดีย เช่นจากโคไสกูณฑ์, มุกตินาถ, พทรินาถ, เกทารนาถ มาเทรวมกันไว้ ใจกลางของบ่อน้ำเป็นโบสถ์พราหมณ์บูชาพระมาตริเกศวรมหาเทวะ (Matrikeshwor Mahadev) ปางอวตารหนึ่งของพระศิวะ นอกจากนี้ภายในยังประดิษฐานเทวรูปของพระหริศังการี (Harishankari) ซึ่งว่ากันว่าเป็นพระลักษมีและพระสรัสวดีรวมในองค์เดียวกัน ชายฝั่งของบ่อทางทิศใต้มีรูปสลักช้าง และบนหลังช้างเป็นรูปปั้นของกษัตริย์ปรตาป มัลละ และบุตรชายทั้งสอง จักรวรรเตนทระ มัลละ (Chakravartendra Malla) กับ มหิปเตนทระ มัลละ (Mahipatendra Malla) กำลังขี่ช้างอยู่ น้ำในบ่อถูกเติมให้เต็มอยู่ตลอดผ่านช่องทางไหลของน้ำจากใต้ดิน และในบ่อยังมีบ่อน้ำ (well) อีกเจ็ดบ่อภายใน ที่มุมทั้งสี่ของบ่อน้ำยังมีมนเทียรย่อม ๆ อีกสี่หลัง ได้แก่โบสถ์พระไภรวะทางตะวันตกเฉียงเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ, โบสถ์พระมหาลักษมีทางตะวันออกเฉียงใต้ และโบสถ์พระคเณศทางตะวันตกเฉียงใต้ โบสถ์ทางตะวันออกทั้งสองหลังในปัจจุบันอยู่ภายในพื้นที่ของวิทยาลัยตริจันทระ นอกจากนี้ ในระหว่างการขุดค้นเมื่อปี 2020 ยังพบว่าที่มุมทั้งสี่ของบ่อมีธุงเคธาราอยู่ โดยปกติ รานีโปขรีจะถูกล้อมด้วยรั้วเหล็กและเปิดให้เข้าภายในเพียงปีละครั้งในวันภาอีตีกา (Bhai Tika) วันสุดท้ายของเทศกาลติหาร และเทศกาล ฉัฐ ที่ซึ่งมีการเฉลิมฉลองเทศกาลยิ่งใหญ่ที่สุดอยู่ที่นี่ หลังเหตุแผ่นดินไหวเนปาลปี 2015 ได้มีการก่อสร้างรานีโปขรีขึ้นใหม่ในเดือนมกราคม 2016 ที่ซึ่งแปลนเดิมจะใช้คอนเกรีตในการก่อสร้างแทนที่การก่ออิฐประกอบดินเหนียวแบบธรรมเนียม รวมถึงยังมีแผนจะสร้างร้านกาแฟริมบ่อน้ำ แผนการก่อสร้างใหม่นี้ถูกคัดค้านอย่างหนัก และมีการประท้วงโดยคนท้องถิ่นหลายครั้งจนท้ายที่สุดจึงแก้ไขแผลนการก่อสร้างบ่อน้ำใหม่ให้เป็นตามดังเดิม การซ่อมแซมบ่อน้ำจึงแล้วเสร็จในเดือนตุลาคม ค.ศ.
หนุมานโฒกา
ระยะทาง: ประมาณ 2512 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.7042,85.3075
หนุมานโฒกา (เนปาล: हनुमान ढोका; Hanuman Dhoka) เป็นเขตพระราชวังหลวงของกษัตริย์มัลละและชาห์ ในจัตุรัสทุรพัรวสันตปุระในกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล หนุมานโฒกากินพื้นที่ 5 เอเคอร์ ชื่อของหนุมานโฒกามาจากเทวรูปหินของพระหนุมาน ใกล้กับประตูทางเข้าของวัง ส่วน 'โฒกา' มาจากภาษาเนปาล แปลว่า "ทางเข้าออก" หมู่อาคารในหนุมานโฒกาได้รับความเสียหายมากจากแผ่นดินไหวเมื่อปี 2015
พิพิธภัณฑ์ปาฏัน
ระยะทาง: ประมาณ 2773 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.6730952,85.325638
พิพิธภัณฑ์ปาฏัน (เนปาล: पाटन संग्रहालय) เป็นพิพิธภัณฑ์ในปาฏัน อำเภอลลติปุระ ประเทศเนปาล พิพิธภัณฑ์เป็นส่วนหนึ่งของแหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก ในฐานะส่วนหนึ่งของจัตุรัสดูร์บาร์ พิพิธภัณฑ์สถาปนาขึ้นในปี 1997 โดยกษัตริย์วิเรนทร วีระ วิกรม ชาห์ ภายในจัดแสดงงานศิลปะเชิงศาสนาของเนปาล ตัวอาคารเป็นอดีตส่วนพำนักอาศัยของดูร์บาร์ปาฏัน ซึ่งในอดีตเป็นหนึ่งในพระราชวังหลวงของกษัตริย์มัลละแห่งหุบเขากาฐมาณฑุ ตัวอาคารพระราชวังหลวงสร้างขึ้นในปี 1734 บนจุดที่ก่อนหน้านี้เป็นพุทธาราม ลานกลางของพิพิธภัณฑ์มีชื่อว่า เกศวนารายณจาวก์ (Keshav Narayan Chowk) จัตุรัสดูร์บาร์ปาฏันได้รับความเสียหายอย่างหนักจากเหตุแผ่นดินไหวในเนปาลเมื่อเดือนเมษายน 2015
โรงพยาบาลสตรีและสูติกรรมปโรปการ
ระยะทาง: ประมาณ 1530 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.689563,85.319052
โรงพยาบาลสตรีและสูติกรรรมปโรปการ (อังกฤษ: Paropakar Maternity and Women's Hospital) หรือรู้จักในชื่อ ประสูติคฤหะ (เนปาล: प्रसूति गृह; Prasuti Griha) เป็นโรงพยาบาลสูติกรรมแห่งแรกของประเทศเนปาล ตั้งอยู่ในกาฐมาณฑุ สถาปนาขึ้นในปี 1959 และมีขนาด 415 เตียง มีรายงานจำนวนสตรีที่มาคลอดบุตรที่โรงพยาบาลนี้อยู่ที่ 15,000 คนต่อปี โรงพยาบาลมีขนาด 415 เตียง จำนวนนี้ 336 เป็นแผนผู้ป่วยใน; 241 เตียงเป็นของแผนกสูติศาสตร์, 61 เตียงสำหรับแผนกนรีเวชวิทยา และ 34 เตียงของเวชศาสตร์ทารกแรกเกิด และ 79 เตียงเป็นเตียงส่วนกลาง
วิหารตะเลจู
ระยะทาง: ประมาณ 2488 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 27.704871,85.308008
วิหารตะเลจู เป็นโบสถ์พราหมณ์ที่อุทิศแด่ตะเลจูภวานี เทพนารีของราชวงศ์มัลลาแห่งเนปาล สร้างขึ้นใน ค.ศ.
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
เมฆกระจาย
23 องศาเซลเซียส
23 องศาเซลเซียส
23 องศาเซลเซียส
23 องศาเซลเซียส
1015 hPa
56 %
1015 hPa
874 hPa
8000 เมตร
3.09 เมตร/วินาที
270 ระดับ
40 %
06:19:34
17:15:20