103.92.145.250 - การสืบค้น IP: การสืบค้นที่อยู่ IP ฟรี, การสืบค้นรหัสไปรษณีย์, การสืบค้นตำแหน่ง IP, IP ASN, IP สาธารณะ
ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Manila
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
BUNNY-COMMUNICATIONS-GLOBAL
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
IP2Location
103.92.145.250ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
national capital region
เมือง
manila
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Manila
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
ภาษา
User-Agent
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
วิกฤตตัวประกันมะนิลา
ระยะทาง: ประมาณ 2695 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 14.58104,120.974922
วิกฤตตัวประกันมะนิลา (Manila Hostage Crisis) หรือ วิกฤตตัวประกันสวนรีซัล (Rezal Park Hostage Crisis) เกิดขึ้นเมื่อเจ้าหน้าที่ตำรวจแห่งชาติฟิลิปปินส์ที่ถูกปลดออกจากตำแหน่งได้ยึดรถบัสทัวร์หน้าควิริโนแกรนด์สแตนด์ในสวนรีซัล กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ.
เกซอนซิตี
ระยะทาง: ประมาณ 6392 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 14.63333333,121.03333333
เกซอนซิตี (อังกฤษ: Quezon City; ฟิลิปปินส์: Lungsod Quezon) เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดและมีประชากรมากที่สุดในประเทศฟิลิปปินส์ เคยเป็นเมืองหลวงของฟิลิปปินส์ระหว่างปี ค.ศ. 1948–1976 ตั้งอยู่บนเกาะลูซอน เมืองนี้ตั้งชื่อตามอดีตประธานาธิบดี มานูเอล แอล.
เมโทรมะนิลา
ระยะทาง: ประมาณ 3012 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 14.58333333,121
มหานครมะนิลา (ฟิลิปปินส์: Kalakhang Maynila, Kamaynilaan, Pambansang Punong Rehiyon; อังกฤษ: National Capital Region (NCR), Metro Manila) เป็นเขตปริมณฑลของเมืองมะนิลา ประกอบด้วยเมืองหลายเมืองที่อยู่ติดกัน และรวมกลุ่มกันเป็นมหานคร (อังกฤษ: Metropolitan Area)
โบสถ์บาโรกแห่งฟิลิปปินส์
ระยะทาง: ประมาณ 1855 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 14.58908333,120.97494444
โบสถ์บาโรกแห่งฟิลิปปินส์ (อังกฤษ: Baroque Churches of the Philippines) คือชื่อเรียกอย่างเป็นทางการของโบสถ์ยุคสเปน 4 แห่งในฟิลิปปินส์ ซึ่งได้รับการจดทะเบียนเป็นมรดกโลกของยูเนสโก ใน พ.ศ.
มหาวิหารมะนิลา
ระยะทาง: ประมาณ 1695 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 14.59147,120.97356
มหาวิหารมะนิลา (ฟิลิปปินส์: Katedral ng Maynila, อังกฤษ: Manila Cathedral) มหาวิหารแห่งเมืองหลวงมะนิลา หรือที่รู้จักอย่างไม่เป็นทางการในชื่อมหาวิหารมะนิลาคือ มหาวิหารโรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ในกรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ อุทิศให้กับพระนางมารีย์พรหมจารี ในฐานะแม่พระปฏิสนธินิรมล ซึ่งเป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์หลักของฟิลิปปินส์ มหาวิหารใช้งานในฐานะสันตะสำนักของอาร์ชบิชอปแห่งมะนิลา ซึ่งเป็นอาร์ชบิชอปโดยพฤตินัยของประเทศฟิลิปปินส์ มหาวิหารตั้งอยู่ที่ลานโรมในเขตอินตรามูโรส (Intramuros) ของกรุงมะนิลา แต่เดิมมหาวิหารคือโบสถ์ในเขตศาสนาซึ่งถูกบริหารในเขตการปกครองของบิชอปแห่งเม็กซิโกใน ค.ศ. 1571 จนกระทั่งถูกแยกในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1579 โดยการออกคำสั่งของสารตราพระสันตะปาปา (สมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกรีที่ 13) มหาวิหารได้รับความเสียหายและถูกทำลายหลายครั้งตั้งแต่โครงสร้างดั้งเดิมถูกสร้างใน ค.ศ.
รีซัลเมโมเรียลสเตเดียม
สนามกีฬา
ระยะทาง: ประมาณ 4663 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 14.56340278,120.992
รีซัลเมโมเรียลแทร็กแอนด์ฟุตบอลสเตเดียม หรือ รีซัลเมโมเรียลสเตเดียม (อังกฤษ: Rizal Memorial Stadium) เป็นสนามกีฬาแห่งชาติของประเทศฟิลิปปินส์ และเป็นสนามหลักของเอเชียนเกมส์ 1954 และกีฬาซีเกมส์ในครั้งที่ฟิลิปปินส์เป็นเจ้าภาพ สนามได้รับการปรับปรุงในปี ค.ศ.
คาโลโอคัน
ระยะทาง: ประมาณ 5366 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 14.65,120.96666667
คาโลโอคัน (ตากาล็อก: Kalookan) เป็นนครในเมโทรมะนิลาของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่ทางเหนือของมะนิลา มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 5.33 ตารางกิโลเมตร เคยเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดรีซัล ใน ค.ศ.
สถานีรถไฟตูตูบัน
ระยะทาง: ประมาณ 1258 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 14.6114,120.9732
สถานีรถไฟตูตูบัน หรือ สถานีรถไฟมะนิลา หรือ สถานีรถไฟดีบีโซรีอา เป็นสถานีรถไฟหลักของมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ โดยชื่อของสถานีสื่อถึงสถานีรถไฟตูตูบันเดิมที่เป็นปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของเซ็นเตอร์มอลล์ และอาคารฝ่ายบริหารพีเอ็นอาร์ ซึ่งเป็นที่ตั้งสำนักงานการรถไฟแห่งชาติฟิลิปปินส์ และเป็นปลายทางของขบวนรถไฟทุกขบวน
สถานีรถไฟซันตาเมซา
ระยะทาง: ประมาณ 3056 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 14.60076111,121.01034722
สถานีรถไฟซันตาเมซา เป็นสถานีรถไฟระดับดินบนเส้นทางรถไฟสายใต้ของการรถไฟแห่งชาติฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่บนถนนไม่มีชื่อใกล้กับถนนราโมนมักไซไซ เขตซันตาเมซาในมะนิลา เป็นหนึ่งในสองสถานีที่มีถนนเข้าถึงโดยตรง (อีกแห่งหนึ่งคือสถานีรถไฟถนนปาไซ) โดยสถานีตั้งชื่อตามเขตที่ตั้ง
แม่น้ำปาซิก
แม่น้ำในประเทศฟิลิปปินส์
ระยะทาง: ประมาณ 3069 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 14.59444444,120.95555556
แม่น้ำปาซิก (ฟิลิปปินส์: Ilog Pasig; สเปน: Río Pásig) เป็นแม่น้ำสายหนึ่งในประเทศฟิลิปปินส์ เชื่อมต่อระหว่างทะเลสาบลากูนากับอ่าวมะนิลา มีความยาว 25 กิโลเมตร (15.5 ไมล์) เป็นแม่น้ำที่ผ่าใจกลางมะนิลาและย่านปริมณฑล ลำน้ำสาขาที่สำคัญได้แก่แม่น้ำมารีกีนา และแม่น้ำซันฮวน พื้นที่ลุ่มน้ำมีเนื้อที่ 4,678 ตารางกิโลเมตร
ศูนย์ภาพยนตร์มะนิลา
ระยะทาง: ประมาณ 5972 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 14.550556,120.981944
ศูนย์ภาพยนตร์มะนิลา (อังกฤษ: Manila Film Center) เป็นอาคารตั้งอยู่ปลายตะวันตกเฉียงใต้ของโครงการศูนย์วัฒนธรรมฟิลิปปินส์ในปาเซย์ ประเทศฟิลิปปินส์ ผลงานออกแบบโดยสถาปนิก Froilan Hong ด้วยสถาปัตยกรรมแบบบรูทัลลิสต์ สร้างอยู่บนโครงสร้างค่ำยันกว่า 900 เสา ศูนย์ภาพยนตร์เป็นโรงภาพยนตร์หลักในเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติมะนิลาครั้งที่หนึ่ง (First Manila International Film Festival; MIFF) ระหว่างวันที่ 18–29 มกราคม 1982
ยุทธการที่มะนิลา (ค.ศ. 1945)
ระยะทาง: ประมาณ 2863 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 14.58333333,120.96666667
ยุทธการที่มะนิลา (ฟิลิปปินส์: Labanan sa Maynila; ญี่ปุ่น: マニラの戦い; สเปน: Batalla de Manila; 3 กุมภาพันธ์ - 3 มีนาคม ค.ศ. 1945) เป็นการรบครั้งใหญ่ของการทัพฟิลิปปินส์ ค.ศ. 1944-45 ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นการสู้รบทางกองกำลังทหารจากทั้งสหรัฐและฟิลิปปินส์ต่อสู้กับกองกำลังญี่ปุ่นในกรุงมะนิลา เมืองหลวงของฟิลิปปินส์ เป็นการสู้รบที่ยาวนานเป็นเดือน ส่งผลทำให้พลเรือนเสียชีวิตกว่า 100,000 คน และเมืองได้ถูกทำลายทั้งหมด เป็นยุทธภูมิการสู้รบภายในเมืองที่เลวร้ายที่สุดที่กองทัพอเมริกันในเขตสงครามแปซิฟิก กองกำลังญี่ปุ่นได้กระทำการสังหารหมู่พลเรือนชาวฟิลิปปินส์ในช่วงการสู้รบแต่กระนั้นการใช้อาวุธของทหารอเมริกันได้สังหารผู้คนไปมากมายเช่นกัน เช่น การยิงปืนใหญ่ของทหารอเมริกันยังได้ทำลายมรดกทางสถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมของกรุงมะนิลาที่มีมาตั้งแต่สมัยก่อตั้งเมือง กรุงมะนิลากลายเป็นหนึ่งในเมืองหลวงที่ได้รับความเสียหายมากที่สุดในช่วงสงครามทั้งหมด เทียบเท่ากับกรุงเบอร์ลินและกรุงวอร์ซอ การสู้รบครั้งนี้ได้ยุติการยึดครองทางทหารของญี่ปุ่นในฟิลิปปินส์เกือบสามปี (ค.ศ.
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
เมฆเป็นหย่อม ๆ
25 องศาเซลเซียส
26 องศาเซลเซียส
24 องศาเซลเซียส
25 องศาเซลเซียส
1011 hPa
96 %
1011 hPa
1010 hPa
10000 เมตร
75 %