103.80.32.218 - การสืบค้น IP: การสืบค้นที่อยู่ IP ฟรี, การสืบค้นรหัสไปรษณีย์, การสืบค้นตำแหน่ง IP, IP ASN, IP สาธารณะ
ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย:
ASN:
ภาษา:
User-Agent:
Proxy IP:
บัญชีดำ:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
IP2Location
103.80.32.218ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
punjab
เมือง
amritsar
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Kolkata
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
ภาษา
User-Agent
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
หริมันทิรสาหิบ
ศาสนสถานสูงสุดในศาสนาซิกข์
ระยะทาง: ประมาณ 1812 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.62,74.87694444
หริมันทิรสาหิบ, ฮรมันดิรซาฮิบ หรือ หริมนเทียรสาหิบ (คุรมุขี: ਹਰਿਮੰਦਰ ਸਾਹਿਬ; เทวนาครี: हरिमन्दिर साहिब; อักษรโรมัน: Harmandir Sahib) หรือ วิหารทอง (Golden Temple) เป็นคุรุทวาราที่สำคัญที่สุดในศาสนาซิกข์ ตั้งอยู่ที่เมืองอมฤตสระ รัฐปัญจาบ ทางภาคเหนือของประเทศอินเดีย ชื่อของวิหารนั้นแปลว่า ที่สถิตของพระผู้เป็นเจ้า สถานที่อันเป็นที่ยกย่องว่าศักดิ์สิทธิ์สูงสุด (abode of God, exalted holy court) ในภาษาไทยได้มีผู้เรียกวิหารนี้อีกหลายชื่อ เช่น วิหารทองคำ, สุวรรณวิหาร เป็นต้น วิหารนั้นสร้างขึ้นท่ามกลางสระน้ำอมฤตซึ่งสร้างโดยคุรุรามทาสในปี ค.ศ. 1577 ต่อมา คุรุอรชุน คุรุศาสดาองค์ที่ 5 ตามความเชื่อของซิกข์ได้ทรงรับสั่งให้ซาอี มีอัน มีร์ (Sai Mian Mir) ผู้เป็นปีร์ (pir) ชาวมุสลิมแห่ง ละฮอร์ วางศิลาฤกษ์ในปี ค.ศ. 1589 ต่อมาในปี ค.ศ.
อมฤตสระ
ระยะทาง: ประมาณ 934 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.64,74.86
อมฤตสระ หรือชื่อเก่า รามทาสปุระ เป็นเมืองใหญ่สุดอันดับสองของรัฐปัญจาบ ประเทศอินเดีย รองจากนครลุธิอานา อมฤตสระเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมหนึ่งของภูมิภาค และเป็นศูนย์กลางการปกครองของอำเภออมฤตสระ ข้อมูลจากสำมะโนปี 2011 มีประชากรอยู่ที่ 1,132,761 คน และเป็นหนึ่งในสิบพื้นที่ภายใต้การดูแลของเทศบาลนคร นายกเทศมนตรีคนปัจจุบันคือการัมชีต สิงห์ รินตุ (Karamjit Singh Rintu)
วิทยาลัยขาลสา
ระยะทาง: ประมาณ 2849 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.633892,74.835554
วิทยาลัยขาลสา (ปัญจาบ: ਖਾਲਸਾ ਕਾਲਜ khālsā kālaj, อังกฤษ: Khalsa College) เป็นสถาบันการศึกษาเก่าแก่ในเมืองอมฤตสระ รัฐปัญจาบ ทางตอนเหนือของประเทศอินเดีย วิทยาลัยขาลสาก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1892 และมีพื้นที่ 300 เอเคอร์ ตั้งอยู่ติดกับมหาวิทยาลัยคุรุนานักเทพ ซึ่งมีข้อตกลงให้ความช่วยเหลือวิทยาลัยนี้ในเชิงวิชาการ
ทุรคิอานามนเทียร
ระยะทาง: ประมาณ 934 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.64,74.86
ทุรเคียนามนเทียร (อังกฤษ: Durgiana Temple) หรือ ลักษมีนารายัณมนเทียร (Lakshmi Narayan Temple), ทุรคาตีรถะ (Durga Tirath) และ สีตลามนเทียร (Sitla Mandir) เป็นโบสถ์พราหมณ์ในเมืองอมฤตสระ รัฐปัญจาบ ประเทศอินเดีย ถึงแม้จะเป็นศาสนสถานของศาสนาฮินดู แต่สถาปัตยกรรมของมนเทียรนี้กลับสร้างด้วยสถาปัตยกรรมซิกข์เลียนแบบหริมันทิรสาหิบ ศาสนสถานสูงสุดของศาสนาซิกข์ ซึ่งตั้งอยู่ในอมฤตสระเช่นกัน ชื่อของมนเทียรมาจากพระนามของพระทุรคา เทพองค์ประธานของมนเทียร มนเทียรแห่งนี้สร้างขึ้นครั้งแรกในศตวรรษที่ 16 สิ่งก่อสร้างหลังปัจจุบันของมนเทียรนั้นสร้างขึ้นโดยคุรุหรไส มัล กาปูร์ (Guru Harsai Mal Kapoor) ในปี 1921 โดยให้ใช้สถาปัตยกรรมเลียนแบบหริมันทิรสาหิบของศาสนาซิกข์
จลิยานวาลาบาค
ระยะทาง: ประมาณ 1993 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.620521,74.880565
จลิยานวาลาบาค หรือบางทีสะกด จัลเลียนวาลาบาค (ปัญจาบ: ਜਲ੍ਹਿਆਂਵਾਲਾ ਬਾਗ; จลฺฮิอานวาลา บาก, ฮินดี: जलियाँवाला बाग़, Jallianwala Bagh) เป็นสวน (บาค) เก่าแก่และอนุสรณ์ประวัติศาสตร์ชาติอันสำคัญยิ่งของรัฐในเมืองอมฤตสระ ประเทศอินเดีย ได้รับการอนุรักษ์ไว้เพื่อระลึกถึงเหตุสังหารหมู่ที่เกิดขึ้นที่นี่ระหว่างเทศกาลไวสาขีเมื่อวันที่ 13 เมษายน 1919 ปัจจุบันภายในมีทั้งพิพิธภัณฑ์ อนุสรณ์ และรูประลึกถึงผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์
การสังหารหมู่ที่จลิยานวาลาบาค
ระยะทาง: ประมาณ 1990 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 31.62055556,74.88055556
เหตุสังหารหมู่ที่จลิยานวาลาบาค (อังกฤษ: Jallianwala Bagh massacre; บ้างสะกด จัลเลียนวาลาบาค) หรือ การสังหารหมู่ที่อมฤตสระ (อังกฤษ: Amritsar massacre) เกิดขึ้นเมื่อ 13 เมษายน 1919 เมื่อนายพลจัตวาและจอมพลเรจินอลด์ ไดเออร์สั่งการให้กองกำลังของกองทัพบริติชอินเดียยิงปืนไรเฟิลเข้าใส่พลเมืองชาวอินเดียผู้ปราศจากอาวุธ ในสวนสาธารณะจลิยานวาลาบาคในเมืองอมฤตสระ จังหวัดปัญจาบ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 379 ราย และบาดเจ็บมากกว่า 1,200 คน
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
เมฆหมอก
20 องศาเซลเซียส
19 องศาเซลเซียส
20 องศาเซลเซียส
20 องศาเซลเซียส
1011 hPa
40 %
1011 hPa
985 hPa
5000 เมตร
2.06 เมตร/วินาที
300 ระดับ