103.57.207.61 - การสืบค้น IP: การสืบค้นที่อยู่ IP ฟรี, การสืบค้นรหัสไปรษณีย์, การสืบค้นตำแหน่ง IP, IP ASN, IP สาธารณะ
ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
04
เมือง
mandalay
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Yangon
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
Myanmar Country Co., Ltd.
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
IP2Location
103.57.207.61ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
mandalay
เมือง
mandalay
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Rangoon
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
ภาษา
User-Agent
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
พระราชวังมัณฑะเลย์
ระยะทาง: ประมาณ 2396 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 21.99294167,96.09591111
พระราชวังมัณฑะเลย์ (พม่า: မန္တလေး နန်းတော်) เป็นพระราชวังหลวงในประเทศพม่า เป็นพระราชวังสุดท้ายแห่งระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของอาณาจักรพม่า ถูกสร้างโดยพระเจ้ามินดง ระหว่างปี พ.ศ. 2400–2402 หลังการย้ายเมืองหลวงจากอมรปุระมายังมัณฑะเลย์ แผนผังของพระราชวังมัณฑะเลย์ส่วนใหญ่เป็นแบบพระราชวังพม่าโบราณ คือตั้งอยู่ในกำแพงมีป้อมปราการและคูเมืองล้อมรอบ มีพระราชวังอยู่ตรงกลางและหันหน้าไปทางทิศตะวันออก อาคารทั้งหมดในพระราชวังมีความสูงหนึ่งชั้น จำนวนยอดแหลมเหนืออาคารบ่งชี้ถึงความสำคัญของอาคารด้านล่าง พระราชวังมัณฑะเลย์เป็นที่ประทับหลักของพระเจ้ามินดงและพระเจ้าสีป่อ ซึ่งเป็นกษัตริย์สององค์สุดท้ายของพม่า พระราชวังแห่งนี้ได้ยุติการเป็นที่ประทับและที่ทำการเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2428 ระหว่างสงครามอังกฤษ–พม่าครั้งที่สาม กองทหารของอังกฤษได้เข้ายึดพระราชวังและควบคุมราชวงศ์ อังกฤษเปลี่ยนบริเวณพระราชวังเป็นป้อมดัฟเฟรินซึ่งตั้งชื่อตามผู้สำเร็จราชการอินเดียในขณะนั้น ตลอดยุคอาณานิคมของอังกฤษชาวพม่ามองว่าพระราชวังแห่งนี้เป็นสัญลักษณ์หลักของอธิปไตยและอัตลักษณ์ บริเวณพระราชวังส่วนใหญ่ถูกทำลายในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองโดยการทิ้งระเบิดของฝ่ายสัมพันธมิตร มีเพียงโรงกษาปณ์และหอสังเกตการณ์เท่านั้นที่เหลือรอด พระราชวังจำลองถูกสร้างขึ้นใหม่ในช่วงพ.ศ.
พระมหามัยมุนี
ระยะทาง: ประมาณ 2593 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 21.95186944,96.07861944
พระมหามัยมุนี หรือ มะฮาเมียะมุนิ (พม่า: မဟာမုနိရှင်တော်မြတ်ကြီး) เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของประเทศพม่า และเป็นหนึ่งในห้าศาสนวัตถุที่ศักดิ์สิทธิ์ของพม่า คำว่า มหามัยมุนี แปลว่า "ผู้รู้อันประเสริฐ" (The Great Sage) เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องกษัตริย์ ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่เมืองมัณฑะเลย์ อดีตราชธานีของพม่าในยุคราชวงศ์โก้นบอง เดิมทีเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของยะไข่ มีตำนานเล่าว่าสร้างขึ้นตั้งแต่สมัยพุทธกาลโดยกษัตริย์แห่งเมืองยะไข่ องค์พระทำจากทองสัมฤทธิ์หนัก 6.5 ตัน มีการสร้างบนฐานสูง 1.84 เมตร (6.0 ฟุต) รวมองค์พระมีความสูงทั้งหมดกว่า 3.82 เมตร (12.5 ฟุต) ไหล่กว้าง 1.84 เมตร (6.0 ฟุต) และรอบเอวกว้าง 2.9 เมตร (9.5 ฟุต) ก่อนสร้างกษัตริย์ผู้สร้างทรงพระสุบินว่า พระพุทธเจ้า เสด็จมาประทานพรให้พระพุทธปฏิมาองค์นี้เป็นตัวแทนของพระองค์ เพื่อเป็นเครื่องสืบพระพุทธศาสนาไปในภายภาคหน้า โดยในอดีตแม้เมืองยะไข่จะถูกโจมตีโดยกษัตริย์เมืองอื่นที่ทรงแสนยานุภาพอย่างไร ก็ไม่อาจที่จะเคลื่อนย้ายองค์พระมหามัยมุนีนี้ออกจากเมืองได้ ต้องมีเหตุให้ขัดข้องทุกครั้งไป จนกระทั่งถึงรัชสมัยพระเจ้าปดุง แห่งราชวงศ์โก้นบองสามารถตียะไข่ได้ และได้อัญเชิญพระมหามัยมุนีออกจากยะไข่ได้ในปี พ.ศ. 2327 โดยล่องมาตามแม่น้ำอิระวดีมายังเมืองมัณฑะเลย์ พระมหามัยมุนีจึงได้มาประดิษฐานอยู่ที่เมืองมัณฑเลย์เป็นการถาวรนับแต่นั้นเป็นต้นมา ด้วยความเชื่อว่าพระพุทธมหามัยมุนีเป็นพระพุทธรูปที่มีชีวิต ด้วยเหตุที่ได้รับประทานพร หรือบางตำนานก็กล่าวว่าได้รับประทานลมหายใจจากพระพุทธเจ้า จึงมีประเพณีล้างพระพักตร์ถวายโดยทุกเช้าในเวลาประมาณ 04.00 น. พระมหาเถระและสาธุชนทั่วไปที่ศรัทธาจะมาทำพิธีล้างพระพักตร์ด้วยน้ำอบน้ำหอมผสมทานาคาอย่างดี พร้อมกับใช้แปรงทองแปรงที่พระโอษฐ์เสมือนหนึ่งแปรงพระทนต์ถวายพระพุทธเจ้า ก่อนใช้ผ้าจากศรัทธาสาธุชนที่ถวายมาเช็ดจนแห้งสนิท แล้วนำกลับคืนแก่สาธุชนผู้นั้นไปบูชาต่อ พร้อมใช้พัดทองโบกถวายเป็นอันดี เสมือนหนึ่งได้อุปัฏฐากองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ยังทรงพระชนมชีพอยู่ อนึ่ง องค์พระมหามัยมุนีมีการปิดทองซ้ำแล้วซ้ำอีกจนเป็นรอยย่นตะปุ่มตะป่ำไปทัวทั้งองค์ ซึ่งหากเอานิ้วกดลงไปจะรู้สึกได้ถึงความอ่อนนิ่มของทองคำเปลวที่ปิดทับซ้อนกันนับเป็นพัน ๆ หมื่น ๆ ชั้น ตลอดระยะเวลาเนิ่นนานหลายศตวรรษ ทำให้พระมหามัยมุนีมีอีกพระนามหนึ่งว่า "พระเนื้อนิ่ม" แต่น่าแปลกที่ว่าแม้จะมีการปิดทองซ้ำแล้วซ้ำอีกจนองค์พระใหญ่ขึ้นเพียงใดก็ตาม แต่พระพักตร์ขององค์พระมหามัยมุนีก็ยังแลดูใหญ่ตามองค์พระอย่างน่าอัศจรรย์ ทั้งที่ไม่ได้มีการปิดทองที่องค์พระพักตร์เลยแม้แต่น้อย ในประเทศไทย ที่วัดหัวเวียง อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้มีองค์พระจำลองของพระมหามัยมุนีนี้เป็นพระประธานของวัด ในบรรดาพระมหามัยมุนีจำลองในประเทศไทย พระเจ้าพาราละแข่งถือเป็นองค์ที่เก่าที่สุด เพราะสร้างขึ้นใน พ.ศ.
มัณฑะเลย์
ระยะทาง: ประมาณ 934 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 21.98305556,96.08444444
มัณฑะเลย์ หรือ มานดะเล (พม่า: မန္တလေး, ออกเสียง: [máɰ̃.də.lé]) เป็นอดีตเมืองหลวง และเมืองใหญ่อันดับที่สองของพม่ารองจากนครย่างกุ้ง ตั้งอยู่ในภาคมัณฑะเลย์ ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำอิรวดี ห่างจากย่างกุ้งไปทางทิศเหนือ 716 กิโลเมตร ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1857 โดยพระเจ้ามินดง โดยตั้งชื่อตามภูเขามัณฑะเลย์ที่อยู่ใกล้เคียงซึ่งมีความสูง 775 ฟุต มัณฑะเลย์เป็นเมืองศูนย์กลางการค้าทางตอนเหนือของพม่า และถือเป็นเมืองใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศรองจากย่างกุ้ง นอกจากนี้ยังเป็นศูนย์กลางทางการค้าที่สำคัญบนเส้นทางการค้าระหว่างอินเดียกับจีน และรัฐบาลพม่ายังให้ความสำคัญโดยตั้งนิคมอุตสาหกรรมขึ้นในปี พ.ศ.
ดินแดนสหภาพเนปยีดอ
ระยะทาง: ประมาณ 895 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 21.96666667,96.08333333
เนปยีดอ (พม่า: နေပြည်တော်) เป็นเขตการปกครองในภาคกลางของประเทศพม่า มีเมืองหลักคือเนปยีดอซึ่งเป็นเมืองหลวงของประเทศด้วย
สนามกีฬามานดะลาตีริ
ระยะทาง: ประมาณ 3803 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 21.94355556,96.09875
สนามกีฬามานดะลาตีริ (อังกฤษ: Mandalarthiri Stadium; พม่า: မန္တလာသီရိ အားကစားကွင်း) เป็นสนามกีฬาอเนกประสงค์ ตั้งอยู่ในเมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า เคยใช้จัดการแข่งขันฟุตบอลหญิงในซีเกมส์ 2013 และยังเป็นที่ตั้งของสโมสรฟุตบอลยะดะนาโบน
อารามชเวน่านดอ
ระยะทาง: ประมาณ 4246 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 22.000675,96.11372222
อารามชเวน่านดอ (พม่า: ရွှေနန်းတော်ကျောင်း; เอ็มแอลซีทีเอส: hrwe. nan: taw kyaung:, ออกเสียง: [ʃwè.náɰ̃.dɔ̀ t͡ɕáʊ̯ɰ̃]; หมายถึง "อารามพระตำหนักทองคำ") เป็นวัดพุทธเก่าแก่ตั้งอยู่ใกล้เขามัณฑะเลย์ ภาคมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า อารามชเวน่านดอสร้างขึ้นใน พ.ศ. 2421 โดยพระเจ้าสีป่อ ซึ่งรื้อถอนและย้ายพระตำหนักของพระเจ้ามินดง พระราชบิดาซึ่งครอบครองก่อนสวรรคต โดยมีค่าใช้จ่าย 120,000 รูปี พระเจ้าสีป่อได้รื้อพระตำหนักออกเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ.
เจดีย์ซานดามุนิ
ระยะทาง: ประมาณ 4189 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 22.00347,96.109758
เจดีย์ซานดามุนิ (พม่า: စန္ဒာမုနိစေတီ; จากชื่อเต็ม နန်းမြေဘုံသာစံနန်းတော်ရာစန္ဒာမုနိဘုရား) เป็นเจดีย์พุทธตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเขามัณฑะเลย์ สร้างขึ้นโดยพระเจ้ามินดงใน พ.ศ. 2417 เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่เจ้าชายกะนองพระอนุชาของพระองค์ ซึ่งถูกลอบปลงพระชนม์พร้อมกับพระราชโอรสสามองค์ ในการกบฏของเจ้าชายมยิ่นกุน พ.ศ. 2409 เจดีย์ได้รับการสร้างขึ้น ณ ตำแหน่งชั่วคราวของพระราชวังน่าน-มเยโบนตา (နန်းမြေဘုံသာ) เจดีย์แห่งนี้เป็นที่ฝังพระศพเจ้าชายคะนองพร้อมกับพระราชโอรส 3 องค์ นอกจากนี้ยังมีพระพุทธรูปเหล็กซึ่งหล่อโดยพระเจ้าปดุงเมื่อ พ.ศ.
เจดีย์กุโตดอ
ระยะทาง: ประมาณ 4507 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 22.004712,96.112902
เจดีย์กุโตดอ (พม่า: ကုသိုလ်တော်ဘုရား, ออกเสียง: [kṵðòdɔ̀ pʰəjá]; หมายถึง พระราชกุศล ชื่อเป็นทางการคือ มะฮาโลกะมาระซีนเจดี မဟာလောကမာရဇိန်စေတီ) เป็นเจดีย์พุทธตั้งอยู่เชิงเขามัณฑะเลย์ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า ซึ่งมีหนังสือเล่มใหญ่ที่สุดในโลก สร้างขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้ามินดง ตัวเจดีย์ซึ่งปิดทองเหนือฐาน มีความสูง 57 เมตร (187 ฟุต) จำลองตามเจดีย์ชเวซี่โกน เมืองญองอู้ ใกล้พุกาม บริเวณรอบเจดีย์มีซุ้มขนาดเล็กประดิษฐานหินจารึก 729 แผ่น แต่ละแผ่นจารึกไว้ทั้งสองด้าน มีเนื้อหาเกี่ยวกับพระไตรปิฎกภาษาบาลีของศาสนาพุทธนิกายเถรวาท
อารามชเวอีนบีน
ระยะทาง: ประมาณ 2049 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 21.96628,96.065954
อารามชเวอีนบีน (พม่า: ရွှေအင်ပင်ကျောင်း) เป็นวัดพุทธเก่าแก่ในเมืองมัณฑะเลย์ ภาคมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า สร้างขึ้นจากไม้สักตามสถาปัตยกรรมพม่าแบบดั้งเดิม วัดแห่งนี้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.
อารามซะลี่น
ระยะทาง: ประมาณ 4182 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 22.00847254,96.10135158
อารามซะลี่น (พม่า: စလင်းကျောင်း) เป็นวัดพุทธเก่าแก่ในเมืองมัณฑะเลย์ ภาคมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า ซึ่งมีชื่อเสียงจากงานไม้แกะสลักพื้นเมือง
อารามอะตุมะชิ
ระยะทาง: ประมาณ 4167 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 22.00083333,96.1125
อารามอะตุมะชิ (พม่า: အတုမရှိကျောင်း, [ʔətṵməʃḭ tɕáʊɰ̃]; ชื่อทางการ มะฮา อะตุละเวยาน จ้องดอจี้ (พม่า: မဟာ အတုလဝေယန် ကျောင်းတော်ကြီး, [məhà ʔətṵla̰ wèjàɰ̃ tɕáʊɰ̃dɔ̀dʑí]) เป็นวัดพุทธในเมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
วัดเจาะตอจี้ (มัณฑะเลย์)
ระยะทาง: ประมาณ 4076 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 22.004474,96.106582
วัดเจาะตอจี้ (พม่า: ကျောက်တော်ကြီးဘုရား; หรือที่รู้จักในชื่อ พระพุทธรูปใหญ่หินอ่อน) เป็นวัดพุทธที่มีชื่อเสียง ตั้งอยู่ทางใต้ของเชิงเขามัณฑะเลย์ ประเทศพม่า ตรงข้ามคูเมืองมุมตะวันออกเฉียงเหนือของพระราชวังมัณฑะเลย์ พระพุทธรูปมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า มะฮาตะจะมายะเซน (မဟာသကျမာရဇိန်) การก่อสร้างเริ่มขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1853 ภายใต้การอุปถัมภ์ของพระเจ้ามินดง แต่สถานที่นี้ไม่เสร็จสมบูรณ์จนกระทั่ง ค.ศ. 1878 อันเนื่องมาจากความขัดแย้งภายในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1860 รวมทั้งการกบฏภายในพระราชวัง ในช่วงแรกวัดนี้สร้างขึ้นตามแบบวัดอนันดาในพุกาม แต่เมื่อสร้างเสร็จแล้วกลับไม่เหมือนวัดต้นแบบ พระพุทธรูปเจาะตอจี้เป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่ปางมารวิชัย (ဘူဖဿမုဒြာ) พระพุทธรูปนี้แกะสลักจากหินอ่อนสีเขียวอ่อนก้อนเดียวที่ขุดได้จากเมืองซะจีน ห่างจากมัณฑะเลย์ไปทางเหนือ 19 กิโลเมตร (12 ไมล์) ใช้ระยะเวลา 13 วันในการขนส่งก้อนหิน โดยใช้แรงงานชายราว 10,000 ถึง 12,000 นาย เข้าสู่บริเวณวัดในจุดที่จะแกะสลัก องค์พระได้รับการถวายเมื่อ ค.ศ.
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
ท้องฟ้าแจ่มใส
23 องศาเซลเซียส
23 องศาเซลเซียส
23 องศาเซลเซียส
23 องศาเซลเซียส
1011 hPa
50 %
1011 hPa
997 hPa
10000 เมตร
1.02 เมตร/วินาที
1.47 เมตร/วินาที
1 ระดับ