logo
หน้าแรก>

103.27.200.140 - แบบสอบถาม IP

สอบถาม

ประเทศ/ภูมิภาค:

flagsประเทศไทย

รัฐ/จังหวัด:

10

เมือง:

bang mot

ละติจูดและลองจิจูด:

13.651100,100.479000

โซนเวลาท้องถิ่น:

Asia/Bangkok

รหัสไปรษณีย์:

10140

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย:

ภาษา:

*

User-Agent:

undici

Proxy IP:

เลขที่

บัญชีดำ:

เลขที่

ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ

ip-api

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

IPinfo

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

MaxMind

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

Luminati

ประเทศ/ภูมิภาค

flagsTH

โซนเวลาท้องถิ่น

Asia/Bangkok

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

Bangmod Enterprise Co., Ltd.

ละติจูด

13.7442

ลองจิจูด

100.4608

รหัสไปรษณีย์

-

db-ip

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

ipdata

ประเทศ/ภูมิภาค

รัฐ/จังหวัด

เมือง

ASN

โซนเวลาท้องถิ่น

ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย

บัญชีดำ

พร็อกซีไอพี

ละติจูด

ลองจิจูด

รหัสไปรษณีย์

Route

  • การตรวจจับการรั่วไหลของ WebRTC
    เริ่ม
  • การตรวจจับการรั่วไหลของ DNS
    เริ่ม
  • การทดสอบ HTTP2/SSL/TLS
    เริ่ม

สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้

  • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

    ระยะทาง: ประมาณ 1615 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.652383,100.493872

    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (อังกฤษ: King Mongkut's University of Technology Thonburi; อักษรย่อ: มจธ. – KMUTT) หรือนิยมเรียกโดยทั่วไปว่า บางมด (Bangmod) เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศไทยที่มีชื่อเสียงทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสถาปัตยกรรมศาสตร์ และได้รับเลือกจากรัฐบาลให้เป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ (National Research University) รวมทั้งเป็นมหาวิทยาลัยที่ปรับเปลี่ยนสถานะจากสถาบันอุดมศึกษาของรัฐเป็น สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ แห่งแรกของประเทศไทย ปัจจุบันมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีเปิดสอนใน 8 คณะ, บัณฑิตวิทยาลัย 2 แห่ง สถาบันซึ่งดูแลและจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรเฉพาะทาง 1 แห่ง และวิทยาลัย 1 แห่ง โดยเปิดสอนทั้งหลักสูตรปกติ หลักสูตรสองภาษา และหลักสูตรนานาชาติ ครอบคลุมในระดับปริญญาตรี, โท และเอก จัดการเรียนการสอนใน 3 พื้นที่การศึกษา และ 1 อาคาร คือ มจธ.บางมด, มจธ.บางขุนเทียน, มจธ.ราชบุรี และสำนักเคเอกซ์ (KX - Knowledge Exchange for Innovation) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ประกอบด้วยพระนาม "พระจอมเกล้า" ซึ่งได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานตามพระบรมนามาภิไธย แห่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 และมีพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญตรา "พระมหามงกุฎ" มาเป็นสัญลักษณ์ของสถาบัน มจธ.

  • เขตบางคอแหลม

    เขตบางคอแหลม

    เขตในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

    ระยะทาง: ประมาณ 5286 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.693,100.502

    บางคอแหลม เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก

  • สะพานพระราม 9

    สะพานพระราม 9

    สะพานในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

    ระยะทาง: ประมาณ 5532 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.682058,100.519001

    สะพานพระราม 9 หรือที่รู้จักกันทั่วไปในนาม สะพานขึง เป็นสะพานเสาขึงระนาบเดี่ยวแห่งแรกของประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานชื่อสะพานพระราม 9 เพื่อเป็นสิริมงคลเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธันวาคม 2530 สะพานพระราม 9 เป็นสะพานถนนข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาในเส้นทางทางพิเศษเฉลิมมหานคร สายดาวคะนอง-ท่าเรือ มีลักษณะเป็นสะพานชนิด Single Plane Fan Type Cable-Stayed Bridge หรือสะพานขึงโดยใช้สายเคเบิลขนาดใหญ่ขึงเป็นระนาบเดี่ยวไว้กับเสาสูงของสะพานเพื่อรับน้ำหนักของสะพาน เริ่มดำเนินการก่อสร้างเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2527 และมีพิธีเปิดการจราจรเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 โดยมีกิจกรรมวิ่งมาราธอนลอยฟ้าในเวลา 06.00 น.

  • สะพานกรุงเทพ

    สะพานกรุงเทพ

    สะพานในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

    ระยะทาง: ประมาณ 5671 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.700435,100.492072

    สะพานกรุงเทพ เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งที่ 3 ต่อจากสะพานพระราม 6 และสะพานพระพุทธยอดฟ้า ถือเป็นสะพานโยกเพียงแห่งเดียวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ยังเปิด-ปิดได้อยู่ เชื่อมระหว่างบริเวณสี่แยกถนนตก เขตบางคอแหลมทางฝั่งพระนคร กับบริเวณสี่แยกบุคคโลในพื้นที่เขตธนบุรีทางฝั่งธนบุรี ใช้ในการคมนาคมทางบกข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาและปิด-เปิด ให้เรือเข้าออก ลักษณะการก่อสร้างเป็นแบบคอนกรีตอัดแรง โดยวิธีการอิสระซึ่งยาวที่สุดในประเทศไทย มีช่องทางจราจร 4 ช่อง ความยาวสะพาน 350.80 เมตร ช่วงกลางน้ำยาว 226 เมตร เริ่มเปิดใช้งานเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.

  • สะพานพระราม 3

    สะพานพระราม 3

    สะพานในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

    ระยะทาง: ประมาณ 5803 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.701519,100.492619

    สะพานพระราม 3 เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมระหว่างถนนรัชดาภิเษกและถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน เขตธนบุรี กับถนนเจริญกรุงและถนนพระรามที่ 3 เขตบางคอแหลม สร้างขนานกับสะพานกรุงเทพ เพื่อบรรเทาปัญหาการจราจรตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

  • โรงเรียนบางมดวิทยา

    โรงเรียนบางมดวิทยา

    ระยะทาง: ประมาณ 3670 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.6812448,100.4652661

    โรงเรียนบางมดวิทยา "สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์" (อังกฤษ: Bangmod Wittaya School)

  • คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

    คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

    ระยะทาง: ประมาณ 1765 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.65103142,100.49531561

    คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (บางมด) หรือโดยทั่วไปมักจะเรียกว่า วิศวะบางมด เป็นหน่วยงานระดับคณะ ในสังกัด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เริ่มเปิดทำการเรียนการสอนเมื่อปี พ.ศ. 2503 และครบรอบการสภาปนา 60 ปีในปี พ.ศ.

  • สนามเฉลิมพระเกียรติ บางมด

    สนามเฉลิมพระเกียรติ บางมด

    ระยะทาง: ประมาณ 1570 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.64666667,100.49277778

    สนามเฉลิมพระเกียรติ บางมด เป็นสนามที่สามารถใช้ได้ในกีฬาหลายประเภท อาทิ เทนนิส, ฟุตบอล, ว่ายน้ำ, เทเบิลเทนนิส, วอลเลย์บอล, ตะกร้อ, บาสเกตบอล, ยูโด, แบดมินตัน, เทควันโด, มวย, ลีลาศ โดยตั้งอยู่ในเขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย โดยปัจจุบันเป็นสนามเหย้าของ สโมสรฟุตบอลบางกอก ทีมจากปุ๋ยรุ่งอรุณ ลีก (ไทยลีก 3) และ โรงเรียนกีฬาจังหวัดกรุงเทพมหานคร ในไทยวีเมนส์ลีก โดยมีความจุประมาณ 8,000 ที่นั่ง ศูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ เดิมชื่อ ศูนย์เยาวชนบางมด สังกัดกองนันทนาการ สำนักสวัสดิการสังคม กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งถนนพุทธบูชา แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร เป็นพื้นที่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ขนาดพื้นที่ 53 ไร่ และเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.

  • แยกประชาอุทิศ (เขตราษฎร์บูรณะ)

    ระยะทาง: ประมาณ 3842 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.672928,100.506516

    แยกประชาอุทิศ (อังกฤษ: Pracha Uthit Junction) เป็นสามแยกจุดตัดระหว่างถนนสุขสวัสดิ์กับถนนประชาอุทิศ ตั้งอยู่ในพื้นที่แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร โดยแยกนี้เป็นจุดเริ่มต้นของถนนประชาอุทิศ

  • ถนนตก

    ถนนตก

    ระยะทาง: ประมาณ 5485 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.697146,100.497038

    ถนนตก (อักษรโรมัน: Thanon Tok) เป็นถนนและทางแยกแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร เป็นสี่แยกที่ตัดระหว่างถนนเจริญกรุงกับถนนพระรามที่ 3 และถนนมไหสวรรย์ ถนนตก เป็นส่วนหนึ่งของถนนเจริญกรุง ถือได้ว่าเป็นส่วนปลายสุดของถนนเจริญกรุง โดยเกิดขึ้นมาพร้อมกับถนนเจริญกรุงในปี พ.ศ. 2404 จึงถือว่าเป็นย่านชุมชนที่เก่าแก่อีกแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร บริเวณถนนตกนั้น ด้วยสภาพของตัวถนนตัดมาสิ้นสุดที่แม่น้ำเจ้าพระยา จึงถูกเรียกว่า "ถนนตก" ซึ่งหมายความถึงสุดถนนเจริญกรุงและตกแม่น้ำเจ้าพระยานั่นเอง โดยปลายสุดของถนนตกเป็นท่าเรือชื่อ "ท่าน้ำถนนตก" ซึ่งแต่เดิมท่าน้ำแห่งนี้เคยเป็นท่าเรือที่ผู้คนใช้สัญจร แต่ปัจจุบันการจราจรทางบกสะดวกสบายขึ้น ทำให้ท่าน้ำแห่งนี้ลดความสำคัญลงกลายเป็นเพียงท่าส่งสินค้าเท่านั้น นอกจากนี้แล้ว บริเวณตั้งแต่ถนนตกถึงแยกสุรวงศ์ ในพื้นที่แขวงสี่พระยา เขตบางรัก ถือว่าเป็นจุดหนึ่งที่มีการจราจรติดมากที่สุดในกรุงเทพมหานคร (จากการสำรวจในปี พ.ศ. 2559) โดยเฉพาะเวลาเร่งด่วนช่วงเช้า ติดอยู่ในอันดับ 3 มีความเร็วเฉลี่ย 10.6 กม./ชม.

  • โรงเรียนดรุณสิกขาลัย

    โรงเรียนดรุณสิกขาลัย

    ระยะทาง: ประมาณ 1736 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.650149,100.495017

    ดรุณสิกขาลัย โรงเรียนนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ (อังกฤษ: Darunsikkhalai School for Innovative Learning) เป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในกำกับของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2543 และเปิดทำการเรียนการสอนในปี พ.ศ.

  • สะพานทศมราชัน

    สะพานในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

    ระยะทาง: ประมาณ 5442 เมตร

    ละติจูดและลองจิจูด: 13.68201,100.51798

    สะพานทศมราชัน (ชื่อเดิม สะพานคู่ขนานสะพานพระราม 9) เป็นสะพานถนนประเภทสะพานขึงข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาในกรุงเทพมหานคร ในเส้นทางของทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกตะวันตก ดูแลโดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เป็นสะพานขึงเสาคู่แห่งแรกของประเทศไทย คู่ขนานด้านท้ายน้ำของสะพานพระราม 9 มีขนาด 8 ช่องจราจร ความกว้างประมาณ 42 เมตร ถือเป็นสะพานข้ามแม่น้ำที่มีความกว้างมากที่สุดในประเทศไทย เพื่อใช้ทดแทนสะพานพระราม 9 ที่จะมีการปิดปรับปรุงภายหลังเปิดการจราจรบนทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกตะวันตกอย่างเต็มรูปแบบ และกระทรวงคมนาคมได้พิจารณาให้เป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2563 แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2566 แต่จะเปิดใช้งานได้หลังจากทางขึ้น-ลงสะพานฝั่งธนบุรีสร้างเสร็จสมบูรณ์ ซึ่งกำหนดไว้ในช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ.

สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่

สภาพอากาศปัจจุบัน

ฝนเบา ๆ

อุณหภูมิปัจจุบัน

28 องศาเซลเซียส

อุณหภูมิที่เหมาะสม

32 องศาเซลเซียส

อุณหภูมิต่ำสุด

27 องศาเซลเซียส

อุณหภูมิสูงสุด

28 องศาเซลเซียส

ความดันบรรยากาศ

1009 hPa

ความชื้น

82 %

ความกดอากาศระดับน้ำทะเล

1009 hPa

ความดันบรรยากาศพื้นดิน

1008 hPa

ทัศนวิสัย

10000 เมตร

ความเร็วลม

0.88 เมตร/วินาที

ลมกระโชกแรง

1.33 เมตร/วินาที

ทิศทางลม

344 ระดับ

คลาวด์

100 %

เวลาพระอาทิตย์ขึ้น

06:08:14

เวลาพระอาทิตย์ตก

18:00:33

อ่านเพิ่มเติม