ประเทศ/ภูมิภาค:
รัฐ/จังหวัด:
เมือง:
ละติจูดและลองจิจูด:
โซนเวลาท้องถิ่น:
รหัสไปรษณีย์:
ข้อมูล IP ภายใต้ไลบรารีความละเอียด IP ต่างๆ
ip-api
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
Luminati
ประเทศ/ภูมิภาค
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
Asia/Bangkok
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
Bangmod Enterprise Co., Ltd.
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
IPinfo
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
db-ip
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
ipdata
ประเทศ/ภูมิภาค
รัฐ/จังหวัด
เมือง
ASN
โซนเวลาท้องถิ่น
ผู้ให้บริการดำเนินการเครือข่าย
บัญชีดำ
พร็อกซีไอพี
ละติจูด
ลองจิจูด
รหัสไปรษณีย์
Route
สถานที่และกิจกรรมยอดนิยมใกล้ที่อยู่ IP นี้
อาคารใบหยก 2
อดีตตึกระฟ้าที่สูงที่สุดในประเทศไทยก่อนมหานคร
ระยะทาง: ประมาณ 737 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.754167,100.540556
อาคารใบหยก 2 (อังกฤษ: Baiyoke Tower II) เป็นตึกระฟ้าในกรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเป็นตึกที่สูงเป็นลำดับที่ 4 ของประเทศไทย เป็นตึกที่มีจำนวนชั้นมากที่สุดในประเทศไทย ด้วยจำนวน 85 ชั้น เป็นโรงแรมที่สูงที่สุดในประเทศไทย และเคยเป็นตึกที่สูงที่สุดในประเทศไทยระหว่าง พ.ศ.
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
อนุสาวรีย์กลางวงเวียนในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร
ระยะทาง: ประมาณ 844 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.76472222,100.53861111
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เป็นอนุสาวรีย์ในกรุงเทพมหานคร โดยรอบเป็นวงเวียนอยู่กึ่งกลางระหว่างถนนพหลโยธิน ถนนราชวิถี และถนนพญาไท โดยตั้งอยู่ที่ กม.4+700 ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ซึ่ง กม.0+000 ได้เริ่มนับมาจากอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนินกลาง โดยที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมินี้เป็นจุดเริ่มต้นของการเรียกชื่อถนนพหลโยธิน
เขตราชเทวี
เขตในกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
ระยะทาง: ประมาณ 155 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.759,100.534
ราชเทวี เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ระยะทาง: ประมาณ 687 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.763912,100.53318
คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เดิมมีชื่อว่า คณะทันตแพทยศาสตร์พญาไท เป็นคณะทันตแพทยศาสตร์แห่งที่สองของประเทศไทย เกิดจากการที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะฯ ขึ้นเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2511 เพื่อเพิ่มจำนวนทันตแพทย์ให้เพียงพอต่อความต้องการของประเทศในขณะนั้น โดยขยายมาจาก คณะทันตแพทยศาสตร์แห่งแรก (คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) ที่ถนนอังรีดูนังต์ ในวันที่ 2 มีนาคม 2512 มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม "มหิดล" อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นชื่อมหาวิทยาลัยมหิดลแทน ทำให้ชื่อของคณะเปลี่ยนเป็น คณะทันตแพทยศาสตร์พญาไท มหาวิทยาลัยมหิดล จนกระทั่งใน พ.ศ.
วังสวนผักกาด
ระยะทาง: ประมาณ 328 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.756575,100.537654
วังสวนผักกาด เดิมเป็นสวนผักกาด เป็นวังที่ประทับของพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต และหม่อมราชวงศ์พันธุ์ทิพย์ บริพัตร (เทวกุล) ตั้งอยู่บนพื้นที่ 6 ไร่ บนถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยสร้างเพื่อประทับในช่วงสุดสัปดาห์ และเปิดให้บุคคลภายนอกเข้าชมศิลปะและโบราณวัตถุ โดยที่เจ้าของบ้านยังใช้เป็นที่พำนักอยู่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2495 ภายหลังจากพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิพินิต สิ้นพระชนม์เมื่อ พ.ศ.
โรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย
ระยะทาง: ประมาณ 333 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.758404,100.531951
โรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนสหศึกษา เปิดสอนในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
สถานีราชเทวี
ระยะทาง: ประมาณ 776 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.751875,100.531575
สถานีราชเทวี (อังกฤษ: Ratchathewi station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท และรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม
สถานีอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
ระยะทาง: ประมาณ 574 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.76274444,100.53708611
สถานีอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (อังกฤษ: Victory Monument station; รหัส: N3) เป็นสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสแบบยกระดับในเส้นทางสายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพญาไทบริเวณด้านหน้าอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ในพื้นที่เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เป็นหนึ่งในจุดต่อรถโดยสารจุดใหญ่ของกรุงเทพมหานคร
สถานีพญาไท
สถานีเชื่อมต่อของรถไฟฟ้าสายสีเขียวและรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ระยะทาง: ประมาณ 172 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.756942,100.533844
สถานีพญาไท (อังกฤษ: Phaya Thai station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท, รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และรถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน
คิง เพาเวอร์ คอมเพล็กซ์
ระยะทาง: ประมาณ 416 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.760103,100.538185
คิง พาวเวอร์ คอมเพล็กซ์ (อังกฤษ: King Power Complex) เป็นศูนย์การค้าแบบครบวงจร โดยบริษัท คิง พาวเวอร์ อินเตอร์เนชันแนล จำกัด ตั้งอยู่ที่ ถนนรางน้ำ แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร บนพื้นที่เดิมขององค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.) ที่ยุบเลิกองค์การและได้ย้ายออกไปในเดือนธันวาคม พ.ศ.
โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ
ระยะทาง: ประมาณ 457 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.758571,100.539187
โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ เป็นโรงเรียนรัฐบาล สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตพื้นที่กรุงเทพมหานครเขต 1 มีชื่อย่อว่า ศ.อ. ก่อตั้งเมื่อ ปี พ.ศ. 2494 เดิมทีชื่อ โรงเรียนรางน้ำ ต่อมาในปีเดียวกัน หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ซึ่งเป็นรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ ได้ตั้งชื่อโรงเรียนให้ใหม่ว่า โรงเรียนศรีอยุธยา มีผู้อำนวยการชื่อ นายพงษ์ แสงทอง เป็นผู้อำนวยการคนแรก ไม่นานก็ได้เปลี่ยนเป็นโรงเรียนสตรีเมื่อ 15 เมษายน พ.ศ.
แยกราชเทวี
ระยะทาง: ประมาณ 696 เมตร
ละติจูดและลองจิจูด: 13.752643,100.531681
แยกราชเทวี เป็นสี่แยกในเขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เป็นจุดตัดของถนนพญาไทและถนนเพชรบุรี แต่ดั้งเดิม ณ สถานที่นี้ เคยเป็นที่ตั้งของสะพานพระราชเทวี หรีอที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า สะพานราชเทวี อันเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กข้ามคลองประแจจีน บนฝั่งถนนพญาไทก่อนถึงถนนประแจจีน (ถนนเพชรบุรี) สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ด้วยพระราชทรัพย์ของสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลพระชนมายุครบ ๕๐ พรรษา ด้วยการบริจาคพระราชทรัพย์สร้างสะพาน และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานนามและทรงประกอบพระราชพิธีเปิดเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 ต่อมาตัวสะพานได้ถูกรื้อถอนไป เพื่อเปิดทางให้มีการถมคลองเพื่อขยายถนนและสร้างเป็นวงเวียนน้ำพุขึ้นมาในราว ปี พ.ศ. 2503–04 โดยที่ป้ายโลหะจารึกชื่อของสะพานถูกเก็บรักษาไว้ยังพิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด จึงทำให้แยกราชเทวีในอดีตมีสภาพเป็นวงเวียน และมีจุดเด่น คือ น้ำพุ ขนาดใหญ่พร้อมกับการปลูกดอกไม้จากต่างประเทศ เช่น กุหลาบ เพื่อความสวยงามรอบ ๆ โดยเฉพาะในเวลากลางคืนที่มีการเปิดไฟสลับสีก็ยิ่งทำให้มีความสวยงามโดดเด่นยิ่งขึ้น แต่ในเวลาต่อมาเมื่อถนนมีความจำเป็นต้องขยายตัวก็ได้ถูกรื้อถอนออกไปเพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพเป็นสี่แยก แต่ทว่ายังคงสภาพของน้ำพุไว้เหมือนในอดีตที่มุมทั้งสี่ของทางแยก และคำว่า "ราชเทวี" นี้ก็ยังได้กลายมาเป็นชื่อเขตราชเทวีด้วย เมื่อมีการกำหนดเขตใหม่ในปี พ.ศ.
สภาพอากาศในพื้นที่ซึ่ง IP นี้ตั้งอยู่
เมฆเล็กน้อย
29 องศาเซลเซียส
31 องศาเซลเซียส
28 องศาเซลเซียส
30 องศาเซลเซียส
1009 hPa
58 %
1009 hPa
1008 hPa
10000 เมตร
2.06 เมตร/วินาที
40 ระดับ
20 %
06:19:11
17:47:11